1. พอใจในสิ่งที่ตัวเองมี
ก่อนที่จะซื้อของใหม่ ให้ลองคิดให้รอบคอบก่อนว่ามันจำเป็นจริง ๆ ที่ต้องซื้อ
ชำรุดเสี ยหายแล้วจริง ๆ ใช้งานไม่ได้แล้วจริง ๆหรือแค่อย ากได้เพราะเพื่อนยุ เครื่องเก่าอย ากทันสมัย
หรือมีโปรลดราคา ถ้าคิดได้ว่าจำเป็นจริง ๆ หรือไม่แล้วค่อยตัดสินใจซื้อ หรือ
จะรอไปซักพัก ก็จะมีเงิ นเก็บเพิ่มขึ้นนิดหน่อยนะครับ
2. ไม่ต้องเป็นที่สุด
กลัวจะต กรุ่นถ้าซื้อของชิ้นนี้ กลัวที่จะอายเพื่อนถ้าซื้อรุ่นต่ำ ถ้าซื้อรุ่นใหม่ที่สุดน่าจะอยู่ได้นาน
ความคิดแบบนี้ไม่ได้ถูกต้องเสมอไปนะครับ ถ้าคุณกลัวต กรุ่นแล้วหล่ะก็สินค้าที่คุณซื้อวันนี้
ปีหน้าก็ออกรุ่นใหม่มาอีก แล้วเครื่องเก่าของคุณก็จะต กรุ่น กลัวที่จะอายเพื่อน
แต่บางครั้งของใช้ ก็ไม่ใช่ของที่จะเอามาโชว์ ลองเปลี่ยนแนวคิดใหม่ซื้อเท่าที่จำเป็น
เพราะความจำเป็นของคนเราไม่เท่ากัน
และเงิ นในกระเป๋าก็ไม่เท่ากัน คุณอาจจะต้องซื้อรุ่นที่สูงที่สุดเพราะคุณต้องใช้งานมันแบบนั้น
แต่ถ้าคุณไม่จำเป็นก็ซื้อรุ่นที่ต่ำลงมาหน่อย ก็ประหยัดเ งินได้อยู่เหมือนกัน
3. เอาเงิ นไว้ไกลตัว
เงิ นอยู่ใกล้ ๆ ตัวก็หยิบเอามาใช้ง่าย ๆ ก็หมดไปเร็ว ถ้าลองเอาเงิ นไว้ไกล ๆ
เช่นฝากธนาคารแบบไม่มีบั ต ร A T M จะต้องไปเบิกที่สาขาอย่ างเดียว
โอกาสที่จะเบิกเงิ นส่วนนั้นมาใช้ ก็จะยิ่งย าก แต่ก็ต้องแบ่งออกมาเป็นส่วนๆไปนะครับ
เช่นเงิ นที่ใช้ประจำวันหรือฉุกเฉินจะต้องนำมาใช้ได้อย่ างง่าย
ส่วนเงิ นเก็บก็ควรเอาไว้ไกล ๆ ยิ่งเบิกย ากยิ่งดี ยิ่งบั ต รเ ค ร ดิ ต ละก็
ลืมเอาติ ดตัวไปบ้างก็ดีนะ จะได้ไม่รูดเล่นจนไม่เหลือวงเงิ น
4. ไม่ไปแหล่งที่อันต ราย
หนุ่ม ๆ สาว ๆ ชอบเดินเล่นดูของที่ตัวเองชอบเสมอ ๆ ทำให้เกิดความ
อย ากได้และก็หาเหตุผลให้กับของเก่าที่มีอยู่ เช่นเดินดูโทรศัพท์มือถือบ่อย ๆ
เพราะชอบความแปลกใหม่ของยี่ห้อต่าง ๆ พอกลับมาบ้าน
กลับกลายเป็นโทรศัพท์ที่มีอยู่ อยู่ดี ๆ ก็เกิดช้า เกิดอาการค้างขึ้นมา ทั้งๆ ที่ไม่เคยเป็นมาก่อนเปิดก็ช้า ปิดก็ช้า
ไม่มี f u n c t i o n ที่เหมือนเครื่องที่เพิ่งสัมผัสมาตอนเย็น ซึ่งก่อนหน้านี้ก็ใช้งาน
ได้ดีมาโดยตลอด ก็เลยคิดว่าควรจะเปลี่ยนเพราะไม่ตอบโจทย์แล้ว ซึ่งมันเป็นอั น ต ร า ยต่อเงิ นในกระเป๋าอย่ างยิ่ง
ขอบคุณที่มา : jingjai999