1. นำของเก่ามาทำเป็นของใหม่
สำรวจดูในบ้านบ้างว่าสิ่งของชิ้นไหนที่ยังพอใช้ได้แต่สภาพเก่าไปบ้างก็ไม่เป็นไร
นำมาซ่อมแซมหรือดัดแปลงให้มันใช้งานได้หลากหลายขึ้น จะช่วยให้เราประหยัดไม่ต้องเปลืองตังค์ซื้อ แถมยังได้ของใหม่ที่ทำขึ้นเองด้วย
2. หารายได้เสริมจากวันว่างหรือวันหยุดสุดสัปดาห์
ช่วย ๆ กันในครอบครัวพ่อแม่ลูก ลองคิดว่าจะช่วยกันทำอย่ างไร เพื่อให้มีรายรับเพิ่มเข้ามาอาจจะช่วยกันทำขนม หรือ ทำอาหาร,
นำผักที่ปลูกไป ข า ย ที่ตลาดหรือคุณแม่บ้านอาจจะมีอาชีพเสริม เช่น การเย็บปักถักร้อย,ทำตุ๊กตา,ทำงานฝีมือแล้วให้ลูก ๆ ช่วยเรื่องการถ่ายภาพ
จัดต กแต่งลงโพสต์ ข า ย ในโซเชียลต่าง ๆ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีอาชีพเสริมอีกมายมายที่ให้เลือกตามความถนัดและตามความสามารถของแต่ละคน
อย่ างรับสอนพิเศษ รับเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ นักแปลภาษา เป็นไกด์ทัวร์นำเที่ยวช่วงเทศก าล และวันหยุด ฯลฯ เป็นต้น
3. ทำบัญชีรายรับรายจ่ายประจำวัน
หลายคนอาจจะคิดว่าการทำบัญชีนั้นไม่ได้ช่วยอะไรเราเลยที่จริงแล้วมีผลนะ บัญชีทำให้เรารู้ว่าเรามีรายรับอะไรเท่าไหร่บ้าง มีรายจ่ายหมดไปกับสินค้าบริการประเภทไหนบ้าง
และเรามีภาระที่ต้องชำระค่าอะไรบ้าง สิ่งเหล่านี้เป็นเหมือนเครื่องเ ตือนสติไม่ให้เราใช้จ่าย เ งิ น จนเกินตัวโดยไม่รู้จักยับยั้งชั่งใจ
เมื่อเราเห็นภาพรวมของการ เ งิ น ของเราแล้วก็จะทำให้เรามีการวางแผนทางการ เ งิ น ที่ดีขึ้นได้
โดยเฉพาะใครที่อย ากมี เ งิ น ออมตอนสิ้นเดือนทุ ก ๆ เดือนแล้วล่ะก็ อย่ าลืมจดบันทึกและแบ่ง เ งิ น เก็บออมไว้เพื่ออนาคต กันบ้าง
4. สร้างนิสัยรักการเก็บออม
สำหรับเราแล้วเป็นคนที่ชอบออม เ งิ น และมีวิ ธีการในการออมดังนี้ ถ้ามีรายได้เข้ามาจะแบ่งเก็บออมไว้เลย 10-20% จากนั้นเวลาที่เราได้รับ เ งิ น โบนัส
หรือส่วนลดเมื่อซื้อสินค้ารายได้เสริมและรายได้พิเศษต่าง ๆ ก็จะเก็บไว้เป็น เ งิ น ออมและเป็น เ งิ น ทุนสำรองไว้ใช้จ่ายในย ามฉุกเฉิน
แรก ๆ มันก็อาจจะย ากนิดหน่อยตรงที่เราต้องมีสติควบคุมจิตใจของตนเองและมีวินัยในการใช้ เ งิ น มากขึ้น แต่พอทำไปสักพักเราก็จะเริ่มติ ดเป็นนิสัย
จนทุ กวันนี้ก็ไม่ได้รู้สึกว่ามันเป็นเรื่องย ากอีกต่อไป แล้วหากว่าท่านผู้ อ่ า น และใครที่สนใจอาจจะลองนำไปปรับใช้ดูก็ได้นะ ไม่สงวนลิขสิทธิ์
ในช่วงที่ของแพง เศรษฐกิจไม่ดี การประหยัดมากจนเกินไปก็อาจจะส่งผลเสี ยกับสุ ขภาพกายและจิตได้ ดังนั้นเราจึงควรดำรงตนบนพื้นฐานแห่งความพอดีเดินทางสายกลางไม่โลภมาก
ไม่ฟุ่มเฟือยหรือขี้เหนียวจนเกินไป ช่วยเหลือคนรอบข้างที่ต กทุ กข์ได้ย ากบ้าง และรู้จักการใช้ชีวิตบนความไม่ประมาทในทุ ก ๆ เรื่อง
ไม่ว่าเศรษฐกิจจะเป็นแบบไหนหากว่าเราได้สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตนเองแล้วย่อมผ่ านพ้นวิกฤตที่เ ล ว ร้ า ยนี้ไปได้
5. ติ ดตามส่วนลดโปรโมชั่นดีดี
ถ้าจะซื้ออะไรสักอย่ างแล้วเลือกซื้อที่มีรายการส่วนลดด้วยนั้น จะช่วยเซฟ เ งิ น ในกระเป๋าของเราได้บ้างหรือถ้าใครที่ใช้จ่ายผ่ านบัตรเครดิตเป็นประจำ
ก็จะมีโปรโมชั่นเสริมต่าง ๆ มากมาย เช่น สะสมคะแนนเพื่อแลกรับของรางวัลและส่วนลดฟรีค่าที่พัก ค่าเดินทาง ค่าเครื่องบิน ตามแต่ละประเภทของบัตรและสินค้าที่ร่วมรายการ
6. หันมาผลิตเพื่อบริโภคภายในครัวเรือน
หากที่บ้านไหนมีพื้นที่ว่าง ๆ สนามหญ้าหลังบ้าน หรือหน้าบ้านเล็ก ๆ อาจจะลองนำเอาเมล็ดพันธุ์ผักปลอดสา ร พิ ษ ต่าง ๆ ไปปลูกดู
ดั่งคำพูดที่ว่า กินทุ กอย่ างที่ปลูก และปลูกทุ กอย่ างที่กิน จะช่วยให้เราประหยัดไม่ต้องซื้อผักจากตลาด แถมยังจะได้ผักที่สดสะอาดมั่นใจได้ว่าปลอดภัย
เพราะเราปลูกด้วยตนเอง แต่ถ้าใครที่อยู่บ้านเช่าตึกแถวคอนโดต่าง ๆ อาจจะไม่ค่อยมีพื้นที่สักเท่าไหร่แนะนำให้ลองหาอะไรมาดัดแปลง
เป็นกระบะหรือกระถางใส่ดินปลูกผักห้อยวางตามระเบียง เพียงเท่านี้ก็จะได้ผักสวนครัวแบบกระถางห้อยกินได้แล้ว
7. รู้จักประมาณตนในการใช้จ่าย
ก่อนที่จะควัก เ งิ นออกจากกระเป๋าแต่ละที ควรคิดให้ดีดีก่อนว่าสิ่งที่เรากำลังจะแลกมานั้น มันมีความจำเป็นมากน้อยเพียงใด
ถ้าสิ่งที่เกี่ยวกับเรื่องปากท้องอย่ าง ข้าวส า ร อ า ห า รแห้ง ผักผลไม้ น้ำดื่ม ฯลฯ ของแบบนี้เป็นสิ่งที่จำเป็นในการดำรงชีพหลายครอบครัว
อาจไว้จะมีซื้อมาตุนไว้ก็ถือว่าเป็นไอเดียที่ดี (แต่ร ะวังของหมดอายุด้วยนะ) ส่วนสิ่งของที่เป็นพวกเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย กระเป๋า รองเท้า สินค้าไอทีต่าง ๆ
พวกนี้อาจจะต้องคิดสักหน่อยก่อนซื้อเพราะบางอย่ าง ก็อาจจะไม่จำเป็น
ขอบคุณที่มา : 1 0 8 r e s o u r c e s