1. เมื่อมีทุ กข์ ขอให้มองความทุ กข์ แล้ววางจิตใจไว้เหนือทุ กข์
ทุ กข์ส่วนทุ กข์ เราส่วนเรา ยกจิตยกใจของเราขึ้นจากความทุ กข์ให้ได้
ด้วยการกำหนดคความเป็นกลาง มองความทุ กข์ เหมือนเราไม่ได้เป็นผู้ทุ กข์
2. ความเล วที่ทำอยู่ ควรละ ลด และเลิก แต่ไม่ต้องโ ทษโกรธเคืองตนเอง
พย าย ามควบคุมคำพูด การกระทำของเรา ให้อยู่ในคุณงามความดี เพื่อไม่ให้สร้างความเ ดือดร้อนให้ตนเองและผู้อื่น
3. เมื่อมีสุข ขอให้มองความสุข รู้สึกกับความสุข แต่ให้เว้นที่ว่างเอาไว้บ้างว่า ความสุขนั้นย่อมมีวันจากเราไป ไม่ช้า.. ก็เร็ว
4. ทำปัจจุบันตรงหน้า ระหว่างการใช้ชีวิต ควรมีสติระลึกรู้ว่า
ขณะนี้ตนเองกำลังทำอะไรอยู่ กำลังทำงานก็อยู่กับงาน กำลังเดินก็อยู่กับการเดิน
มองต้นไม้ให้เห็นต้นไม้ มองฟ้าให้เห็นฟ้า ฟังเ สียงนกร้องก็ขอให้ได้ยินเ สียงนั้น
เหล่านี้คือการกำหนดใจลงสู่ปัจจุบันทั้งสิ้น
5. รักผู้อื่นให้มากขึ้น ไม่เช่นนั้นเราก็ไม่อาจรักตนเองอย่ างถูกต้องได้
ความรักนั้นจำเป็นต้องเรียนรู้ผ่ านการรักผู้อื่น จงรักผู้อื่นอย่ างไม่เห็นแ ก่ตัว
จงให้โดยไม่หวังผลตอบแทน ฝึกตนเองให้เป็นผู้ให้ ที่ให้เป็น
แล้วความรักที่เรางง ๆ อยู่ก็จะเดินไปสู่ความเป็นรักที่แท้จริงได้
6. ความดีที่มีอยู่ ควรเพิ่มพูน ส่งเสริมให้งอกงามยิ่ง ๆ ขึ้นไป ภูมิใจในความเป็นคนดีของตน
แม้มันจะเป็นเพียงความดีเล็ก ๆ แต่ต้นไม้ใหญ่ก็เคยเป็นต้นกล้ามาก่อนเช่นกัน
ควรสร้างเหตุปัจจัยให้ความดีของตนได้เติบโตต่อไป
7. ทำล ายวงจรอุ บาทของชีวิต ด้วยการใส่กิจก รรมดี ๆ เข้าไป
เช่น การตื่นให้เช้าขึ้น กำหนดเวลากิน อยู่ หลับ นอน ขับถ่ ายให้เป็นเวลา ใส่ตารางการออกกำลังกายลงไปบ้าง
ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้จิตวิ ญญาณของตน ตระหนักถึงความเป็นระบบระเบียบของชีวิต
อย่ าใช้ชีวิตแบบเดิม ๆ เพราะนั่นอาจเป็นจุดเริ่มต้นของโ รคซึ มเศ ร้า และปัญหาทางใจอื่น ๆ ที่จะตามมา
8. ความคิดโหยหาอดีต และความกังวลในอนาคตนั้น เป็นความคิดที่สูญเปล่า
และเป็นโ ทษซะส่วนใหญ่ ถ้าเป็นไปได้ ควรคิดให้น้อย
แทนที่ความคิดไร้ประโยชน์เหล่านั้นด้วยการทำสมาธิ กำหนดลมหายใจ
หรือการพิจารณาชีวิตในมุมที่สร้างสรรค์ เราต้องตระหนักว่า
ความทุ กข์คือก้อนความคิด ที่สร้างมาจากเวลาที่นอกเหนือจากปัจจุบัน
เมื่อเรารวมใจของเราลงสู่ปัจจุบันได้เมื่อไหร่ ทั้งอดีต และอนาคต ก็จะไม่สามารถทำร้ ายเราได้
9. ย้ำเตื อนตนเองอยู่เสมอว่า สิ่งต่าง ๆ อยู่ด้วยเหตุปัจจัย อย่ าคาดหวังในผล
แต่จงสร้างเหตุ อย่ าคาดหวังในรักที่ดี แต่จงสร้างเหตุแห่งรักที่ดี
อย่ าคาดหวังในความร่ำร วยให้มากเกินไป แต่จงสร้างเหตุแห่งความร่ำร วยให้เกิดขึ้น
สิ่งนี้เองคือการทำทุ กอย่ างด้วยจิตว่าง เมื่อทำทุ กอย่ างด้วยจิตว่างได้แล้ว
ชีวิต ก็จะพบกับหนทางแห่งความดีงามและความสุขได้ง่ายขึ้น
10. จงรักในหน้าที่ของตน และพย าย ามเชื่อมโยงหน้าที่ของตน ไว้กับประโยชน์ของผู้อื่น
หรือประโยชน์ของสังคม คิดให้ออกว่าหน้าที่ของเรา สามารถช่วยอะไรสังคม หรือผู้อื่นได้บ้าง
และขย ายความรู้สึกนึกคิดตรงนั้นให้งอกงามในใจ การงานของเราก็จะเปลี่ยนจากการทำงาน
เป็นการทำบุญ กลายเป็นคนที่มีใจและหน้าที่อันเป็นกุศลอยู่ตลอดเวลา
ขอบคุณที่มา : f e e l i n g d d