Home ข้อคิดดีๆ 7 วิธีสอนลูกให้จิตใจดี ไม่ใช่เรียนเก่งอย่างเดียว ต้องพึ่งตัวเองได้ด้วย

7 วิธีสอนลูกให้จิตใจดี ไม่ใช่เรียนเก่งอย่างเดียว ต้องพึ่งตัวเองได้ด้วย

9 second read
ปิดความเห็น บน 7 วิธีสอนลูกให้จิตใจดี ไม่ใช่เรียนเก่งอย่างเดียว ต้องพึ่งตัวเองได้ด้วย
0
4,335

1. สร้างแ ร งบันดาลใจด้วยเรื่องเล่า

การสร้างแร งบันดาลใจด้วยเรื่องเล่า สำหรับเด็ กเล็ก โลกของเขายังไม่กว้างใหญ่มากนัก การเล่าเรื่องราวต่างๆ

จากนิทาน หรือเกร็ดประวัติศาสตร์อย่ างง่าย ๆเกี่ยวกับบุคคลที่ทำเพื่อผู้อื่น

 

จะช่วยทำให้ลูกเข้าใจเรื่องการช่วยเหลือกันในสังคมได้ดีขึ้น คนเป็นพ่อแม่อาจถามลูกว่าหากเกิดเหตุการณ์อย่ าง

ในนิทานขึ้นกับลูกลูกจะทำอ ย่ างไร ลองฟังคำตอบของลูกแล้วชื่นชม

 

หรือตั้งคำถามเพื่อชี้แนะแนวทางที่ถูกต้อง เพื่อหลีกเลี่ยงที่จะวิจารณ์ และตัดสินว่าคำตอบของลูกถูกหรือผิ ด

เพื่อให้ลูกได้ฝึกคิดด้วยตนเอง โดยมีพ่อแม่เป็นผู้ชี้นำแนวทางที่เหมาะสม

 

2. สอนเรื่องอารมณ์ต่างๆ

เช่น เมื่อลูกร้องไห้ที่ไม่ได้ของเล่น คุณพ่อคุณแม่อาจบอกลูกว่า แม่รู้ว่าลูกกำลังเ สี ยใจที่ไม่ได้ของเล่น หรือเมื่อลูก

โ ก ร ธที่ถูกแ ย่ งขนม ต้องบอกว่าลูกกำลังโ ก ร ธอยู่ใช่ไหม แต่แม่อย ากให้ลูกหายใจเข้าลึก ๆ

 

แล้วใจเย็น ๆ ก่อน การสอนเช่นนี้จะช่วยทำให้ลูกเรียนรู้ที่จะจัดการกับอารมณ์ของตน เมื่อโตขึ้นเขาจะได้ไม่

นำอารมณ์ของตนเองมาเป็นข้ออ้างในการทำร้ า ยคนอื่นนั่นเอง

 

3. การพาลูกออกไปพบปะผู้คนที่หลากหล ย

การพาลูกพบปะคนที่หลากหลาย นับเป็นการฝึกให้ลูกมีความเห็นอ กเห็นใจผู้อื่นและเข้าใจสังคมมากขึ้น ก็คือ

ทำให้เขาเห็นว่าในโลกนี้มีคนที่แ ต กต่างกันอยู่อย่ างหลากหล า ย ทั้งสีผิว เชื้อชาติ ภาษา

 

และความคิด ซึ่งสิ่งที่แต กต่างเหล่านี้ไม่ได้แปลว่าผิ ดเสมอไป การพาลูกออ กเดินทางท่องเที่ยวได้เห็นวิถีชีวิต

ผู้คนที่แต กต่างพร้อมกับคำชี้แนะที่เหมาะสม จะทำให้ลูกเข้าใจความเป็นไปของโลกใบนี้ได้ดีขึ้น

 

4. ฝึกลูกให้รู้จักช่วยงานบ้าน

การฝึกลูกช่วยงานบ้านสามารถเริ่มได้ตั้งแต่เล็กเลย โดยส่วนใหญ่เ ด็ กในวัย 2 ขวบ เริ่มฟังและเข้าใจคำสั่งง่าย ๆ

ได้บ้างแล้ว ดังนั้นเราควรฝึกลูกให้ช่วยงานบ้านขั้นพื้นฐานเป็น เช่น เก็บของเล่นหลังเล่นเสร็จ

 

นำเสื้อผ้าที่สวมแล้วไปใส่ตะกร้า เป็นต้น การให้ลูกช่วยงานบ้านโดยเริ่มจากสิ่งที่เขาควรต้องรับผิ ดชอบเอง

ทำให้เด็ กได้เรียนรู้เรื่องหน้าที่ของตนเอง ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญต่อ

 

การใช้ชีวิตในสังคม เมื่อลูกเริ่มโตขึ้นค่อยเพิ่มหน้าที่ภายในบ้านให้เหมาะสมกับวัย ลูกก็จะเรียนรู้ว่าสิ่งต่างๆ

ที่ตนทำมีผลกระทบต่อคนรอบข้างอ ย่ างไรนับเป็นจุดเริ่มต้นของการเอาใจเขาใส่ใจเรานั่นเอง

 

5. ฝึกเรื่องระเบียบวินัยให้เขา

การฝึกระเบียบวินัย เพื่อเป็นทักษะการควบคุมตนเอง และยับยั้งชั่งใจให้แก่ลูกนับเป็นพื้นฐานต่อการทนต่อสิ่งยั่ วยุต่างๆ

ในชีวิตประจำวัน ซึ่งสามารถทำได้ตั้งแต่เล็กๆ อาทิ การตื่นนอนและเข้านอนให้เป็นเวลา

 

รับประทานอาหารเป็นเวลา การเก็บของเล่นให้เป็นที่เป็นทางหลังเล่นเสร็จแล้ว ไม่รับประทานขนม

หรืออาหารในห้องนอน เป็นต้น

 

6. สอนลูกให้รู้จักแก้ปัญหา

สอนลูกให้รู้จักแก้ปัญหา บ่อยครั้งที่ลูกเราอาจทำพลาดไปบ้าง พ่อแม่หลายคนจะใช้วิธีตำห นิหรือดุลูกเพื่อไม่ให้ลูกทำผิดอีก

การทำเช่่นนี้นั้นจะทำให้เด็ กคิดว่าการทำผิดเป็นเรื่องใหญ่โต และกลั วที่จะทำผิ ดหรือจะปกปิดความคิดของตน

 

เองโดยการโ ก ห ก ดังนั้น พ่อแม่ควรเริ่มต้นในการให้อภัยลูก แล้วชวนลูกแก้ไข้ปัญหาหลังจากที่เกิดข้ อผิ ดพลาด

ตัวอย่ าง เช่น เวลาลูกวิ่งแล้วไปทำน้ำหกพ่อแม่ควรฝึกให้เด็ กรับผิดชอบในสิ่งที่ทำ คือเช็ดน้ำและเก็บแก้วให้เป็นที่ หลัง

จากนั้นชวนให้ลูกคิดว่าครั้งหน้าสามารถระวังอย่ างไรให้ไม่เกิดเหตุการณ์แบบนี้อีก

 

7. ฝึกให้ลูกช่วยเหลือตนเอง

การฝึกให้ลูกรู้จักช่วยเหลือตนเองให้เป็น ถือเป็นพื้นฐานของทักษะอื่นต่อไปเพราะการที่เด็ กสามารถช่วยเหลือตนเองได้

และลดการพึ่งพาคนอื่น จะทำให้เด็ กเกิดความมั่นใจในตัวเอง ลดความกังวลและพร้อมที่จะเรียนรู้ทักษะอื่น ๆ

ในชีวิตประจำวันได้

Load More Related Articles
Load More By Young Hug Phai Eek Dai Bor
Load More In ข้อคิดดีๆ
Comments are closed.

Check Also

จังหวะชีวิต ของแต่ละ ค น มักจะไม่เหมือนกัน

บางคนเรียนจบตอนอายุ 22 ปี.. แต่ต้องรออีก 2 ปี ถึงจะหางา … …