การให้อภั ย คือ ให้ความไม่มีภั ย ให้ความปลอดภั ย ยกโ ทษให้
การให้อภั ย นี้เป็นการอโหสิก รรม คือ เราจะไม่เป็นผู้จองเ วรกับเขาอีกต่อไป
ส่วนก รรมที่เขาทำนั้น ก รรมจะเป็นผู้ลงโ ทษเขาเอง
การให้อภั ย เป็นการบำเพ็ญบารมี คือ อภั ยทาน อันเป็นทานบารมีที่สูงส่ง
การให้อภั ยจึงเป็นการฝึกจิต อบรมจิต ให้สว่าง ให้เบา ให้แจ่มใส ยุติความเศร้าหมอง ขุ่นมัว
ชำระล้างสิ่งที่ไม่ดีออกจากใจ ดังนั้นการให้อภั ย จึงเป็นสิ่งที่ส่งผลดีต่อตนเองหาใช่ผู้อื่น
มหาตมะคานที กล่าวไว้ว่า
“ผู้ที่อ่อนแอไม่สามารถให้อภั ยใครได้
เพราะการให้อภั ยได้นั้นนับเป็นความเข้มแข็งแท้จริง”
นอกจากความเข้มแข็งแล้ว การให้อภั ยต้องมีความเมตตา เป็นผู้มีปัญญา เห็นโ ทษของการผูกใจเ จ็บ
ความโกรธ พย าบาท การจองเ วร การให้อภั ยไม่ใช่การยอมแพ้ แต่เป็นการยอมเพื่อชนะ ชนะใจตนเอง
ผู้ที่ไม่รู้จักการให้อภั ย คือ ผู้ที่แพ้ตลอดก าล จะเป็นผู้ที่แบกทุ กข์ไว้ตลอดเวลา หาความสุขไม่ได้ กล่าวได้ว่า
“แค้นก่อทุ กข์ อภั ยก่อสุข”
เว รย่อมระงับด้วยการไม่จองเ วร การให้อภั ยเป็นเครื่องมือระงับการจองเ วร เป็นการปลดปล่อยตนเองให้เป็นอิสระ
จากความทุ กข์ของความโกรธแค้น ที่สำคัญการให้อภั ยต้องมีความตั้งใจ ไม่ใช่แสแสร้งแกล้งทำ
ต้องหมั่นฝึกให้มาก ๆ ทำเป็นประจำทุ กวัน เป็นเรื่องที่ทำย าก แต่หากใครทำได้ก็จะพบความสุข
ขอบคุณที่มา : getwellsoonxoxo