สมัยนี้ผู้คนส่วนใหญ่มักจะไม่ค่อยใส่ใจเวลาเข้านอน ทำให้มีพฤติ ก ร ร ม นอนดึก
อาจจะด้วยสาเหตุจากการทำงานหนัก หรือ มีกิจ ก ร ร ม สังสรรค์กับเพื่อนๆ พอจะ
อ ย า ก นอนเร็ว
กลับนอนไม่หลับซะงั้น เพราะ ติ ด นิสัยนอนดึกไปเสี ยแล้ว ซึ่งพฤติ ก ร ร ม แบบนี้จะ
ส่งผลเสี ยกับ สุ ข ภ า พ ในระยะ ย า ว
ในธรรมชาติสมัยก่อน มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ใช้ชีวิตได้ดีในช่วงกลางวัน ออกหาอาหาร
และ ทำกิจ ก ร ร ม ต่างๆ แต่เวลากลางคืน เราไม่ได้ตาดีเหมือนนกฮูก หูได้ยิน เ สี ย ง ดี
เหมือนแมว หรือ จมูกดมกลิ่นได้ดีแบบสุนัข ทำให้เราต้องเข้าที่หลบซ่อน หาที่กำบัง เช่น
ในถ้ำ เพื่อพักผ่อน ทำให้ ร่ า ง ก า ย เราถูกกำหนดด้วยนาฬิกาชีวิต ตามแสงอาทิตย์ขึ้นลง
จะเห็นได้ว่า ตั้งแต่ 4 ทุ่ม เป็นต้นไป ร่ า ง ก า ย ก็เริ่มที่จะทำงานได้น้อยลง และ
ต้องการการพักผ่อนที่มากขึ้น เวลาหลัง 5 ทุ่มเป็นต้นไป เป็นช่วงเวลาที่ร่ า ง ก า ย
ต้องการ การพักผ่อนมากเป็นพิเศษ เพื่อฟื้นฟู และ ซ่อมแซม เซลล์ส่วนต่างๆ
กระบวนการเหล่านี้จะดำเนินไปตลอดทั้งคืนที่เรานอนหลับ และ สิ้นสุดลงตอนเช้า
ที่เราตื่นนอน หรือ ตอนที่ ด ว ง อาทิตย์ขึ้นนั่นเอง
ข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันประสาทวิท ย า ก็บ่งชี้ไว้เช่นเดียวกันว่า การเข้านอนเร็วตอน
22.00 น. ทำให้ สุ ข ภ า พ ดีขึ้นได้จริง แ พ ท ย์ หญิงฐาปนี สมบูรณ์ แ พ ท ย์ ชำนาญการ
สถาบันประสาท วิ ท ย า ได้ให้ข้อมูลว่า การนอนดึกจะส่งผลต่อ ส ม อ ง หัวใจ และ ห ล อ ด โ ล หิ ต
ทำให้กระบวนการซ่อมแซมของ ร่ า ง ก า ย เกิดเสี ยสมดุล
แต่ถ้าหากเราสามารถเข้านอนเร็วได้ ก็จะทำให้ ร่ า ง ก า ย ของเรามี สุ ข ภ า พ ที่ดีได้ ด้วย 8 ข้อ ดังนี้
1. ส ม อ ง จะสร้าง เ ค มี ความสุข
เนื่องจากว่าเวลาที่เรานอน ส ม อ ง จะสร้าง ส า ร เ ค มี ความสุข หรือ ซีโร โทนิน จะหลั่งออกมา
หากไม่ได้นอน จะทำให้เกิดปัญหาเรื่อง อ า ร ม ณ์ และพฤติ ก ร ร ม ตามมา ตัว อ ย่ า ง เช่น
เป็น โ ร ค ซึ ม เ ศ ร้ า แต่ไม่ได้ระบุว่าต้องเข้านอนเวลา 22.00 ตรง อาจจมีเลทบ้างนิดหน่อย
แต่ไม่ก็ไม่ควรเกิน 23.00 น.
2. สร้าง เ ค มี หนุ่มสาว
โกรทฮอ ร์โม น 70% จะหลั่งในขณะที่เรากำลังหลับ และอีก 30% ตอนที่เราออกกำลังกาย
ซึ่งตัวฮอ ร์โม นนี้จะหลั่งตอนเรานอนช่วงเวลาเที่ยงคืน หรือ ตี1 ครึ่ง
เพราะฉะนั้นเราควรจะหลับก่อนหน้านั้น อาจจะเข้านอนสักตอน 23.00 น. เพื่อให้การนอนหลับ
ของ ร่ า ง ก า ย ตรงกับช่วงเวลาที่ โกรทฮอ ร์โม นหลั่งพอดี
3. ความจำดีขึ้น
เนื่องจากกระบวนการจำ ต้องอาศัยการนอน เพื่อให้สิ่งที่เราได้เรียนรู้มา เข้าไปฝังใน ส ม อ ง
ตอนที่เราได้รับการพักผ่อน หรือนอนหลับ ทำให้จำสิ่งที่ได้เห็น
ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆเข้ามานั่นเอง ดังนั้นการนอนเร็วขึ้นก็จะช่วยให้ความจำดีขึ้นตามไปด้วย
4. ช่วยคุมความดัน โ ล หิ ต ได้
การนอนมีส่วนช่วยในการควบคุมความดัน โ ล หิ ต และระบบต่างๆของ ร่ า ง ก า ย เป็นไป อ ย่ า ง
สมดุล แต่สิ่งสำคัญคือ การนอน อ ย่ า ง มีคุณภาพ ไม่ได้เน้นที่การนอนหลับเร็ว
แต่เป็นการนอนที่ไม่มีสิ่งมารบกวน เช่น การนอนกรน นอนหลับๆตื่นๆ ทำให้คุณภาพ
การนอนที่ดีเสี ยไป
5. ช่วยให้ ร่ า ง ก า ย ซ่อมแซมส่วนที่สึ กหรอ
แน่นอนว่าการนอนหลับ เป็นการที่ ร่ า ง ก า ย ได้หยุดทำงาน และได้รับการพักผ่อน อ ย่ า ง เต็มที่
ซึ่งในช่วงเวลาที่เรานอนหลับ จะทำให้เกิดการซ่อมแซมของ ร่ า ง ก า ย
แต่จะเกิดขึ้นแค่ช่วหนึ่งของการนอนที่หลับลึกช่วงครึ่งคืนแรก ร่ า ง ก า ย ได้รับการฟื้นฟู
6. ลดความ เ สี่ ย ง โ ร ค อ้ ว น
ในช่วงที่เรานอนหลับ จะหลั่งโกรทฮอ ร์โม นออกมา และช่วยให้เรา เ ผ า พ ล า ญ พลังงานได้ดีขึ้น
อีกทั้งยังช่วยลดโอกาสในการเกิด โ ร ค เ บ า ห ว า น ได้ สิ่งสำคัญอีก อ ย่ า ง หนึ่ง
เมื่อเรานอนเร็วแล้ว จะทำให้เราไม่หิวในช่วงดึกจนต้องหาอะไรมาใส่ท้องเพิ่มนั่นเอง
7. ทำให้มีความสุขมากขึ้น
การที่เราได้นอนเร็ว นอน อ ย่ า ง เต็มอิ่ม ร่ า ง ก า ย ได้พักผ่อน อ ย่ า ง เต็มที่ ตื่นมาก็จะทำให้รู้สึกสดชื่น
ความจำดี มีสมาธิ จะทำอะไรก็รู้สึกดีไปหมด ทำให้มีความสุขมากขึ้น ต่างจากการที่ ร่ า ง ก า ย ข า ด
การพักผ่อน หรือพักผ่อนน้อย ก็จะหงุดหงิด อ า ร ม ณ์ เสี ยง่าย
8. ป้องกันความ เ สื่ อ ม ช ร า
เคยได้ยินไหม ถ้าไม่ อ ย า ก แ ก่ ให้รีบนอนตั้งแต่หัวค่ำ เพราะการนอนจะทำให้ ร่ า ง ก า ย ของเรา
ได้รับการฟื้นฟู ได้ขับถ่ายของเสี ย แต่สำหรับใครที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ต้องเข้างานกะดึก
สิ่งที่ควรทำคือ การออกกำลังกาย และนอนหลับได้ อ ย่ า ง มีคุณภาพ ให้ตัวเองสามารถนอนหลับลึกได้
ก็ช่วยได้เช่นกัน
รู้แบบนี้แล้ว ก็รีบปรับเปลี่ยนพฤติ ก ร ร ม การนอนดึก ให้เข้านอนได้เร็วขึ้นกันดีกว่าค่ะ เพื่อ สุ ข ภ า พ
ที่ดีของเราในระยะ ย า ว และบอกต่อเรื่องราวดีๆแบบนี้ให้กับคนที่คุณรัก
ขอขอบคุณข้อมูลจาก : แพทย์หญิงฐาปนี สมบูรณ์ , รายการชัวร์ก่อนแชร์