ตอนที่ยังเป็นเด็ กนักเรียน หลายคนต่างเชื่อเสมอว่าถ้าได้ตั้งใจเรียนสอบติ ดคณะที่ใช่
ยิ่งมีโอกาสได้งานที่ดี เงิ นเดือนที่ดี และยิ่งเป็นอาชีพที่ใครก็รู้จัก เช่น ข้าราชการ, วิศวกร, นักธุรกิจ
ยิ่งน่าภูมิใจไปใหญ่เพราะนอกจากเงิ นเดือนที่ได้สมน้ำสมเ นื้อ
มีจำนวนมากพอที่จะจุนเจือครอบครัวได้ มีสวัสดิการรองรับให้สุขสบาย
ยังเป็นอาชีพที่ถือว่า “มีหน้ามีตา” ใครก็ต้อนรับกันหมดแต่ในโลกของความเป็นจริงแล้ว
อาชีพที่ “มีหน้ามีตา” ในสังคมไม่ได้เหมาะกับทุ กคนเสมอไป และในแต่ละอาชีพ
เขาก็มีการกำหนดอัตรารับสมัครแต่ละปีที่ค่อนข้างจำกัดน่ะสิ !
“แล้วจะเรียนไปทำไม ถ้าสุดท้ายก็ได้งานที่ไม่ตรงสาย/ งานที่น้อยคนจะรู้จัก/ เงิ นเดือนที่ไม่ได้มากมายอะไร ?”
คำถามนี้จะได้คำตอบที่เครียดมากเลย เพราะมันเต็มไปด้วยความคาดหวังที่คิดว่า
“เรามีทางเลือกอยู่ไม่กี่อย่ างในชีวิต”แต่ถ้าลองเปลี่ยนเป็นความคิด “ฉันทำงานอะไรก็ได้
ไม่ว่าจะตรงสายหรือไม่ก็ตาม” มันอาจดูประโยคขี้แพ้ในสายตาบางคนแต่ถ้าคิด ๆ ดูแล้ว
มันได้ความสบายใจเยอะกว่าการตั้งคำถามแบบแรกเพราะความเป็นจริงของชีวิตคือ
1. มนุษย์ทุ กคนมีความสามารถในตัวเอง “แต กต่าง” กันไปเราไม่จำเป็นต้องเก่งเหมือนกันหมด
2. แม้แต่ในคนเดียวกัน ยังมีความสามารถที่หลากหลาย เช่น เป็น ห ม อ แต่ก็เล่นดนตรีเก่ง
ทำ อ า ห า ร เก่ง เป็นศิลปินแต่ก็คำนวณเก่ง ขับรถเก่ง
3. สิ่งที่เรา “เก่ง” ไม่จำเป็นต้องออกมาในรูปแบบวิชาชีพ เช่น หมอ, วิศวกร, พย าบาล
มันอาจเป็นพรสวรรค์ก็ได้ เป็นความรู้อะไรก็ได้ที่เราเอาจริงกับมัน เช่น การทำอาหาร, การจัดสวน, การออกแบบ
(ไม่อย่ างงั้นเราคงไม่เห็นนักธุรกิจหน้าใหม่หลายคนผุดขึ้นเป็นด อกเห็ดหรอก)
4. สิ่งที่เราเรียนมาเป็นสิบเป็นร้อยกว่าวิชา มันคือ “การหล่อหลอม” หลายวิชาไม่ได้สอนเราทางตรง
แต่ให้เราค่อย ๆ ซึมซับข้อดีแต่อย่ างไปเอง เช่น ฝึกความอดทน, ฝึกความประณีต, ฝึกทักษะการเข้าสังคมในครั้งหนึ่ง
ที่เราไม่เห็นประโยชน์ว่าจะใช้อะไรได้จริง พอโตขึ้นอีกหน่อย มันก็ต้องมีบ้างแหละที่เรานึกอะไรขึ้นมาจนต้องไปหา อ่ า น
ปัดฝุ่นตำราอีกครั้งทุ กความรู้ที่เราได้รับ ไม่เคยสูญเปล่า แค่เรามองไม่เห็นค่ามันเอง ลองนึกดูให้ดีสิ !
5. ในรั้วโรงเรียน- มหาวิทย าลัยต่อให้เราได้เรียนกับอาจารย์ที่เก่งแค่ไหน
ขอบเขตความรู้มันก็เป็นเพียงความรู้ในรั้วเท่านั้นโลกของวัยผู้ใหญ่ที่โตขึ้น เรายังต้องรู้เห็นอีกมาก
เรียนรู้กันอีกย าว ลองผิดลองถูกกันอีกเยอะดังนั้น จะมาฟั นธงว่าเรียนมาสายวิทย์ต้องทำงานสายวิทย์
เรียนสายภาษาต้องทำงานสายภาษา มันก็ไม่ถูกเสมอไป
6. มันเป็นเรื่องธรรมดาที่มนุษย์เราจะต้องวิ่งตามหาสิ่งที่ “ใช่” ค่อย ๆ เรียนรู้ ค่อย ๆ ปรับตัวไป
สิ่งที่เรากำลังสนุกในตอนนี้ บางทีอาจจะยังไม่ใช่ที่สุด สิ่งที่เราเก่งในตอนนี้ ในวันข้างหน้ามันอาจเป็นเพียงแค่ความทรงจำ
เพราะอาจมีหลายปัจจัยให้คิดมากขึ้น เช่น จำเป็นต้องพับโครงการเรียนต่อเอาไว้ เพราะเงิ นไม่พอจำเป็นต้องทำงานหาเงิ นก่อน
แล้วค่อยไปเรียนศิลปะที่เราชอบ … เราต้องดูจังหวะของชีวิตด้วย (ความจำเป็นของชีวิตแต่ละช่วง)
7. มนุษย์เราควรมีทางเลือกให้กับชีวิตไว้หลายด้าน หรือ “มีแผนสำรอง” เพื่อไม่เป็นการปิดกั้นตัวเองจนเกินไป
เช่น ถ้าวุฒิที่เราเรียนมามันหางานย าก จะยอมรึเปล่าที่เอาวุฒิต่ำกว่านี้หางานไปก่อน?
ถ้าเราไม่ได้อาชีพนี้ เรายอมได้รึเปล่าที่จะทำอาชีพอื่นไปพลาง ๆ ก่อน? … ความฝัน สิ่งที่ใช่
มันไม่ควรเป็นสิ่งที่ได้ดั่งใจในทันทีมันเป็นเรื่องธรรมดามาก ๆ ที่ต้องแลกกับความเหนื่อย
ความพย าย ามหลายเท่าตัว จึงไม่ใช่เรื่องแปลกแต่อย่ างใดหากจะพบว่าทำไม หมอบางคนถึงแต่งเพลงได้?
ทำไมบางคนเรียนวิชาชีพแต่มาเป็นศิลปิน? ทำไมบางคนเรียนไม่จบแต่ประสบความสำเร็จ?
ถ้ายังไม่เข้าในในข้อนี้ ลองย้อนกลับไปอ่ านข้อ 6 อีกรอบ
ขึ้นชื่อว่า “ความรู้” เราได้รับมา ถึงจะไม่ใช้ในทันทีก็ไม่ควรเสี ยดาย ขึ้นชื่อว่า “ความฝัน” ถึงจะยังไม่ใช่ในวันนี้
ใช่ว่าวันหน้าจะเป็นไปไม่ได้มันอยู่ที่ตัวเราล้วน ๆ ว่า “รู้ตัวดีหรือไม่ว่าทำอะไรอยู่?”
และ “พร้อมจะยืดหยุ่นกับทุ กสถานการณ์ชีวิตรึเปล่า?” อย่ าลืมว่าโลกเรากลม
และมีหลายมิติ ใช่ว่าจะต้องมองเพียงด้านเดียว
ขอบคุณที่มา : jingjai999