ปัญหาน่าป วดหัวของคนที่ประกอบอาชีพอิสระ มีรายได้ไม่แน่นอน
อย่ างพ่อค้า แม่ค้า เกษตรกร คนขับแท็กซี่ วินมอเตอร์ไซค์รับจ้าง หรือคนหาเช้ากินค่ำ ฯลฯ
ก็คือ บางวันขายดิบขายดี หรือมีลูกค้าใช้บริการเยอะก็รับทรัพย์กันไปถ้วนหน้า
แต่ถ้าวันไหน เดือนไหน หาลูกค้าได้น้อย ยอดขายต ก คนจ้างงานก็ไม่มี แบบนี้เลยหมุนเงิ นไม่ทัน
ต้องไปกู้ห นี้ยืมสินมา กลายเป็นดินพอกหางห มู เกิดปัญหาเงิ นไม่พอใช้ วนไปทุ กเดือน
ใครเผชิญเหตุการณ์ทำนองนี้อยู่บ่อย ๆ ถึงเวลาต้องมาวางแผนการเ งินกันแล้วล่ะ
เพราะถ้าเรารู้จักบริหารจัดการรายรับ-รายจ่ายให้ดี ๆ ต่อให้มีรายได้ ไม่แน่นอน
ก็สามารถควบคุมค่าใช้จ่ายได้ ไม่ต้องไปก่อห นี้ แถมยังมีเงิ นออมด้วย
1. ทำรายการค่าใช้จ่ายรายเดือน
อย่ างแรกที่ต้องทำก็คือ เขียนรายการ ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เราต้องจ่ายทุ กเดือนออกมาเห็นชัด ๆ
ไม่ว่าจะเป็นค่าใช้จ่ายคงที่ ซึ่งต้องจ่ายเท่ากันทุ กเดือน เช่น ค่าเช่าบ้าน ค่าผ่อนรถ ค่าประกัน ฯลฯ
หรือค่าใช้จ่ายผันแปร อย่ างค่าอาหาร ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ฯลฯ ที่ขึ้นอยู่ กับพฤติกร รมการใช้งานของเรา
การลิสต์รายจ่ายต่าง ๆ จะทำให้เราทราบว่าในแต่ละเดือนเราต้องเตรียมเงิ นไว้ประมาณเท่าไร
ซึ่งเมื่อทำงานหาเงิ นมาได้ ก็ต้องแบ่งเงิ นไว้ สำหรับค่าใช้จ่ายส่วนนี้ในทุ ก ๆ เดือน
2. จดบันทึกรายรับ-รายจ่าย
ข้อนี้ก็สำคัญมาก อีกเหมือนกัน เพราะในเมื่อเรามีรายได้ ไม่แน่นอน
เราก็จำเป็นต้องรู้ว่าในแต่ละเดือนเรามีรายรับเข้ามาแค่ไหน เพียงพอสำหรับค่าใช้จ่ายใน
แต่ละเดือนที่เราลิสต์ไว้หรือไม่ ถ้าเดือนไหนมีรายรับเข้ามามาก ก็สมควรเก็บออมไว้
เผื่อใช้จ่ายในเดือนที่รายรับเข้ามาน้อย จะทำให้เราบริหารจัดการค่าใช้จ่ายในบ้านได้อย่ างไม่ลำบาก
และเมื่อจ่ายเ งินไปแล้วทุ กครั้ง ก็ต้องจดบันทึกไว้ เพื่อสำรวจว่าเดือนนี้
เราเ สียเ งินไปกับค่าใช้จ่ายประเภทไหนมากกว่ากัน ใช้เงิ นฟุ่มเฟือยไปหรือไม่
เมื่อทราบแล้ว จะได้ปรับพฤติกร รมให้ประหยัดขึ้น ลดภาระค่าใช้จ่ายลงได้อีก
3. กันเงิ นสำรองไว้ฉุ กเฉิน
หลังจากจดบันทึก รายรับ-รายจ่ายแล้ว ถ้าเดือนไหนมีเงิ นเหลือมาก
อย่ าลืมแบ่งส่วนหนึ่งไว้เพื่อเป็นเงิ นสำรองย ามฉุ กเฉิน
ซึ่งโดยปกติเราควรมีเ งินสำรองฉุ กเฉินประมาณ 3-6 เท่าของค่าใช้จ่ายประจำเดือน
เพราะเราไม่มีทางรู้ว่าจะมีเหตุจำเป็นต้องใช้เงิ นก้อนขึ้นมาเมื่อไร หรือถ้าจะให้ดีที่สุด
พอมีรายได้เข้ามาปุ๊บก็ให้แบ่ง มาออมเป็นเงิ นสำรองฉุ กเฉินไว้ก่อนเลย
อย่ างน้อย 10-20% เป็นการสร้างวินัยให้ตัวเองสามารถเก็บเ งินได้จริง ๆ
4. ไม่สร้างห นี้ผูกพัน
สมัยนี้มีของล่อตาล่อใจ ให้คนอย ากจับจ่ายใช้สอยกันเยอะ
แต่สำหรับคนที่มีรายได้ไม่แน่นอน ขอให้พิจารณาความสามารถในการจ่ายห นี้ของตัวเองก่อน
และถ้าเป็นไปได้ไม่ควรสร้างห นี้ระยะย าว เช่น ผ่อนบ้านราคาหลายล้าน นาน 20-30 ปี
แม้บางคนจะบอกว่าตัวเองมีรายได้เป็นกอบเป็นกำ หางานได้เยอะในช่วงนี้
แต่อย่ าลืมว่าอนาคตเป็นสิ่งที่ไม่แน่นอน และอาชีพของเรา ก็มีรายได้ไม่คงที่
หากผ่อนไปแล้ว 10 ปี เกิดปัญหาติ ดขัดเ จ็บป่ วยจนทำงานไม่ได้ ลูกค้าหด กำไรหาย
ห นี้บ้านก้อนนี้ จะกลายเป็นภาระก้อนใหญ่ที่ทำให้เราป วดข มับแน่นอน
5. อย่ าลืมออมเงิ นเพื่อเกษียณ
เรื่องสำคัญที่สุดที่คนมองข้าม ก็คือไม่คิดจะออมเงิ นไว้ใช้ในวัยเกษียณ
ลองคิดดูว่าถ้าวันนี้ร่ างกายเราแข็งแรง หาเงิ นได้มากก็จริง
แต่ช้อปปิ้งกระจายใช้ชีวิตแบบหรูหรา ไม่รู้จักเก็บออมไว้บ้างเลย
พออายุเริ่มเข้าสู่เลข 6 ทำงานไม่ไหว จะเอาเงิ นที่ไหนมาใช้เลี้ยงชีพ
แต่ถ้าเราเริ่มเก็บเงิ นไว้ตั้งแต่อายุยังน้อย ที่ยังมีแรงทำงานไหว
เ งินสะสมก็อาจมากพอที่จะใช้ในย ามชรา แต่ว่าการเก็บเพื่อวัยเกษียณ
ใช้เวลานานหลายสิบปี ดังนั้น ไม่ควรเก็บเงิ นไว้กับตัวเองเฉย ๆ
เพราะผลตอบแทนไม่เพิ่มขึ้น แถมค่าของเ งินยังน้อยลงไปตามอัตราเงิ นเฟ้ออีกต่างหาก
จึงควรนำเงิ นไปฝากประจำ กับธนาคารเพื่อรับด อกเบี้ย
หรือจะออมกับกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) ก็ได้ เพราะได้รับเ งินสมทบเพิ่มจากรั ฐบาลสูงสุดถึง 100%
และได้ผลตอบแทนไม่น้อยกว่า ด อกเบี้ยเ งินฝากประจำ 12 เดือนอีก
แบบนี้แหละถึงจะเห็นเงิ นออมของเรางอกเงยขึ้นอย่ างชัดเจน ไม่ว่าจะทำงานประจำ
หรือประกอบอาชีพอิสระ มีรายได้มากน้อยแค่ไหน ก็ไม่ใช่ข้อจำกัดของการออมเ งินแต่อย่ างใด
ขอแค่รู้จักบริหารจัดการให้ดี ก็มีชีวิตที่สุขสบายในวัยเกษียณได้
ขอบคุณที่มา : yindeeyindee