1. จอดนอนในที่ที่ปลอดภัย
บริเวณที่จอดนอนนั้นต้องมีไฟสว่างไสว อาจจะเป็นจุดพักรถตามปั๊มน้ำมัน หรือขอนอนใกล้ ๆ ป้อมทางหลวง
ควรจอดในที่ที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการสูดดมก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์เข้าสู่ร่ างกาย
เราไม่ควรเปิดแอร์และปิดกระจกทั้งหมด เพราะแอร์ภายในรถจะดูดก๊าซพิ ษเข้ามาสู่ห้องผู้โดยส าร
สิ่งที่ควรทำคือ เปิดหน้าต่างลงอาจจะเป็นด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อปล่อยอากาศให้ถ่ายเท
แต่หากร้อนจริง ๆ ควรเลือกที่จะเปิดพัดลมแอร์แทนการเปิดเครื่องปรับอากาศภายในรถ
พัดลมแอร์จะช่วยดูดอากาศภายนอกรถให้เข้ามาหมุนเวียนภายในรถ
ทำให้อากาศภายในรถไม่ร้อนจนเกินไปและยังเป็นการช่วยถ่ายเทอากาศได้ดีอีกด้วย
2. อย่ าติ ดเครื่องและนอนเปิดแอร์
อย่ างที่ทราบกันตั้งแต่ตอนต้น ว่าการนอนในรถแล้วติ ดเครื่องปิดกระจกเปิดแอร์ไว้
จะทำให้เกิดการเผ าไ หม้ของน้ำมัน ทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์
และเครื่องปรับอากาศในรถนั้น จะดูดเอาก๊าซพิ ษเหล่านี้เข้ามาในตัวรถ
ทำให้เวลานอนเราสูดดมก๊าซพิ ษตัวนี้เข้าไปโดยไม่รู้ตัว และอาจทำให้ถึงแ ก่ชีวิตได้ในที่สุด
3. เปิดกระจกให้อากาศถ่ายเท
ควรเปิดกระจกไว้ด้านใดด้านหนึ่ง หรือเปิดทั้งหมดแต่ลดกระจกลงเพียง 2-3 ซม.เท่านั้น
และทำการบิดกุญแจไปเพื่อเปิดระบบไฟ ไม่ต้องติ ดเครื่อง เพียงแค่เปิดพัดลมแอร์เพื่อระบายอากาศก็พอ
พัดลมแอร์จะเป็นตัวช่วยในการถ่ายเทอากาศภายนอกให้หมุนเวียนเข้ามาในรถ
และออกไปทางช่องกระจก ทำให้อากาศภายในรถไม่ร้อนจนเกินไป เป็นวิ ธีที่ทำได้ง่ายและปลอดภัยมาก
4. ล็อครถให้เรียบร้อยก่อนปรับเบาะนอน
การล็อครถเป็นการระวั งอั นตราย จากโ จรที่อาจจะมาจี้เพื่อหวังเอาทรัพย์สินมีค่า
ดังนั้นควรเก็บทรัพย์สินอันมีค่าไว้ในที่ลับ เก็บให้เรียบร้อยเพื่อไม่ให้เป็นการล่อพวกโ จรเข้ามาจี้ป ล้นได้
เมื่อทำการล็อครถไว้อย่ างแน่นหนาแล้ว ก็ให้ปรับเบาะเอนนอนให้เหมาะสม
อาจมีหมอนหนุนคอไว้รองคอไม่ให้เกิดอาการเคล็ด เพียงเท่านี้ก็สามารถงีบหลับได้อย่ างสบายใจแล้ว
5. งีบหลับเพียงเพื่อให้คลายความอ่อนล้า
เราไม่ควรนอนในรถนานเกินไป ใช้เวลาในการพักผ่อนเพียง 30-40 นาทีก็เพียงพอแล้ว
เพราะการที่เรานอนหลับนานเกินไป อาจเป็นปัจจัยเสี่ ยงในการรับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์เข้าสู่ร่ างกาย
จะทำให้การลำเลียงออกซิเจนของเม็ดเลื อดแดงไปสู่ส่วนต่าง ๆ ในร่ างกายได้น้อยลง
เป็นเหตุให้อวั ยวะภายในร่ างกายเกิดการทำงานที่ผิดปกติขึ้นได้ และหากได้รับก๊าซพิ ษนี้ในปริมาณมาก
จะทำให้ร่ างกายเกิดการข าดออกซิเจนอย่ างเฉียบพลัน และทำให้เสี ยชีวิตได้ในที่สุด
ขอบคุณที่มา : krustory