1. เคลียร์ห นี้ ให้มากที่สุด
ก่อนจะออกไปสู่โลกของการว่างงาน การเคลียร์ห นี้ให้มากที่สุด เป็นสิ่งที่จำเป็นต้องทำเป็นอย่ างแรก
เพราะสำหรับบางคนห นี้ถือว่าเป็นรายจ่ายประจำ บางคนอาจเป็นห นี้ระยะย าว
เช่น ห นี้บ้าน ห นี้รถ หรือบางคนอาจเป็นห นี้ระยะสั้น เช่น บัตรเครดิต หรือสินเชื่ อส่วนบุคคล
แนะนำว่าให้รีบปิดห นี้ระยะสั้นก่อนที่จะลาออก เพื่อเพิ่มสภาพคล่องให้กับคุณ
โดยควรเคลียร์ห นี้ให้เหลือไม่เกินทรัพย์สินที่คุณมี หรือถ้าจ่ายไม่หมดจริง ๆ
ก็ควรมีเงิ นเก็บไว้สำหรับจ่ายห นี้ในช่วงหางานใหม่ด้วยครับ
2. เตรียมเ งินสำรอง
ความเ สี่ยงเป็นเรื่องที่ต้องใส่ใจครับ ปกติถ้ามีงานอยู่แล้วควรต้องมีเ งินสำรองประมาณ 3-6 เดือน
เผื่อไว้สำหรับค่าใช้จ่ายฉุ กเฉิ น เช่น ค่ารั กษาพย าบาล, โอกาสลงทุนสำคัญิๆ จ่ายห นี้ หรือค่าใช้จ่ายในระยะสั้น
แต่ถ้าลาออกความเ สี่ยงก็จะยิ่งเพิ่ม เนื่องจากการข าดรายได้ในช่วงระหว่างการหางานใหม่
ดังนั้นแนะนำว่าถ้าคิดจะลาออก ควรมีเงิ นเก็บประมาณ 6-12 เดือนดีกว่าครับ
3. มีรายได้เสริม
ระหว่างช่วงก่อนลาออก และระหว่างที่ว่างงาน ควรมีช่องทางรายได้เสริมด้วยนะครับ
อาจเป็นสิ่งที่คุณถนัด หรืองานที่ทำได้จากที่บ้านก็ได้ครับ
บางทีงานเสริมของคุณอาจสร้างรายได้ให้คุณมากกว่างานประจำที่ทำก็ได้ !
สำหรับใครที่ไม่รู้ว่าจะหารายได้เสริมยังไง ลองดูจาก แผนผังสร้างอาชีพ
ตามรูปนี้เลยก็ได้ครับ ลองเริ่มต้นจากเขียนสิ่งที่เรามีลงไป เช่น มีความรู้ด้านไหน
มีประสบการณ์เชี่ยวชาญ ตอนว่าง ๆ ชอบทำอะไร ช่วยใครได้บ้าง
และทำผ่ านช่องทางไหน แล้วเอามันมาต่อยอดสร้างรายได้ให้ตัวเอง
4. สมัครบัตรเครดิต
สาเหตุที่ต้องเตรียมตัวเรื่องนี้ก็เพราะว่า ถ้าไม่ได้ทำงานประจำแล้ว การสมัครบัตรเครดิตอาจจะทำได้ย ากขึ้น
เนื่องจากไม่มีสลิปรับรองเ งินเดือน และ statement ย้อนหลัง รวมถึงสถาบันการเงิ น
อาจมองว่าคุณข าดความสามารถในการชำระห นี้ ดังนั้นสำหรับใครที่ลาออกมาแล้ว และไม่คิดที่จะทำงานประจำต่อ
อย ากเป็นฟรีแลนซ์ไปย าว ๆ การสมัครบัตรเครดิตเผื่อเอาไว้สักใบก็ไม่ได้แ ย่ครับ
เพราะอาจจะช่วยเพิ่มสภาพคล่อง และให้สิทธิประโยชน์บางอย่ างได้ แต่ก็อย่ ารูดเพลินจนเป็นห นี้นะครับ !
5. ขึ้นทะเบียนคนว่างงาน
สำหรับพนักงานบริษัท ใครที่จ่ายประกันสังคมมาไม่น้อยกว่า 6 เดือนภายใน 15 เดือนก่อนว่างงาน
อย่ าลืมไปลงทะเบียนคนว่างงานภายใน 30 วันด้วยนะครับ เพราะกรณี “ลาออก”
สามารถของเ งินชดเชยจากประกันสังคมได้ 30% ของค่าจ้างเฉลี่ย ปีละไม่เกิน 90 วัน
และคิดจากฐานสมทบสูงสุด 15,000 บาทต่อเดือน คิดเป็นเ งินชดเชยสูงสุดเดือนละ 4,500 บาท
ขอบคุณที่มา : sabailey