1. เผลอเปรียบเทียบลูกกับคนอื่น
เพราะการเปรียบเทียบ จะเป็นการสร้างความรู้สึกด้ อยให้เกิดขึ้นในชีวิตของลูก ๆ
ซึ่งเป็นอั นตรายต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของ เด็ กอย่ างมาก
ถึงแม้การพูดในลักษณะนี้จะเป็นการที่ อย ากจะให้ลูกได้พย าย าม ปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้น
แต่ก็อาจทำให้เด็ กรู้สึกด้อยค่า และ มองว่าไม่เก่งเท่าคนอื่น ๆ อาจจะเลิกพย าย ามทำหรือยอมแพ้
หรืออีกมุมหนึ่งคือ เด็ กอาจเกิดความคิดหาทางกลั่นแก ล้ง ทำ ล า ย คู่แข่งคนอื่น ๆ ได้
ซึ่ง คุณพ่อ คุณแม่ไม่ควรเข้าใจว่า พื้นฐานของเด็ กแต่ละคนนั้นตลอดจนความสามารถนั้นแต กต่างกัน
ควรจะมองและชื่นชมลูกในสิ่งที่เขาสามารถทำได้ และถนัดมากกว่าการใช้คำพูดเพื่อทำล ายความรู้สึกของลูก ๆ
ด้วยการเปรียบเทียบ หรือเพื่อต้องการให้ลูกเก่งกว่าเด็ กคนอื่น ๆ ในทุ กด้าน
2. เผลอต่อว่าลูกต่อหน้าคนอื่น การดุด่ าว่ากล่าวลูกต่อหน้าคนอื่น
ถือเป็นการทำร้ าย จิตใจลูกอย่ างมาก คุณพ่อ คุณแม่ต้องคิดเสมอว่า
เด็ ก ๆ ก็มีความรู้สึกอาย และ เสี ยหน้าเป็น ดังนั้นหากลูกมีพฤติกร รมที่ไม่เหมาะสม
ควรค่อย ๆ พูดกับลูกในระดับที่เสมอกัน ด้วยน้ำเสี ยงที่อ่อนโยนและเป็นมิตร
ซึ่งไม่ควรเผลอที่จะตะคอ ก หรือโดยวายลูกต่อหน้าคนอื่นหรือที่สาธารณะนะคะ
3. เผลอบอกว่า “ไม่รัก” แล้ว
จริง ๆ แล้วไม่มี คุณพ่อ คุณแม่ คนไหนที่ไม่รักลูก แต่ก็ไม่ควรนำความรักมาใช้เป็นเงื่อนไข
ต่อรองกับลูก ซึ่งการพูดไม่รักบ่อย ๆ เป็นการบั่ นทอนความมั่นคงทางอ ารมณ์ และ จิตใจของลูกอย่ างมาก
พ่อแม่บางคนอาจบอกว่าไม่รักเพื่อให้ลูกเชื่อฟัง แต่หารู้ไม่ว่าวิ ธีนี้อาจทำให้เด็ กรู้สึกคิดจริงจังก็ได้ว่า
พ่อแม่ไม่รักจริง ๆ และรู้สึกเ จ็บป วดมากที่สุด อาจจะไม่ทำตามในสิ่งที่พ่อแม่บอกแล้ว
เพราะไม่มีประโยชน์อะไรที่เขาจะทำดีหรือเชื่อฟังเมื่อพ่อแม่ไม่รัก
ซึ่งเรื่องนี้ถือเป็นเรื่องใหญ่สำหรับเด็ กมาก ดังนั้น หากคุณจะตำหนิลูกที่มีพฤติกร รมที่ไม่เหมาะสม
ควรว่ากล่าวด้วยเหตุผลมากกว่าการบอกว่า “ถ้าทำตัวแบบนี้พ่อแม่ไม่รักนะ” ดีกว่าค่ะ
4. เผลอเพิกเฉย ไม่สนใจ
การแสดงความไม่สนใจต่อลูกนั้น ในกรณีที่ คุณพ่อ คุณแม่ ตั้งใจแสดงออกให้ลูกเห็นว่าการเรียกร้อง
แสดงความสนใจเพื่อที่จะให้พ่อแม่ตามใจ เช่น การร้องไห้ชักดิ้นชักงอ หรือการเดินหนีออกจากพ่อแม่นั้นไม่ได้ผล
วิ ธีนี้ถือเป็นการช่วยฝึกวินัยของลูกให้เรียนรู้ว่า พฤติกร รมแบบนี้ไม่สามารถเรียกร้อง ความสนใจจากพ่อแม่ได้
และ ลูกก็จะไม่ทำอีก แต่กลับกัน หากพ่อแม่เอาแต่สนใจอย่ างอื่น โดยที่ไม่สนใจลูก
เพิกเฉยต่อการที่ลูกจะเข้ามาเล่นด้วยหรืออ วดสิ่งของที่ลูกได้ทำเอง ถือเป็นการทำร้ ายต่อจิตใจลูกมากนะคะ
5. เผลอข่ มขู่หรือทำให้กลัว
เด็ ก ๆ มักจะกลัวเสี ยงดุ จากคุณพ่อคุณแม่อยู่แล้ว เนื่องจากลูกยังไม่สามารถเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ ได้ดีเกือบทั้งหมด
การเรียนรู้ครั้งแรกหรือการทำผิ ดพลาดอาจทำให้ลูกเกิดความไม่กล้าในครั้งต่อไป หากพ่อแม่ใช้วิ ธีการขู่มาเป็นข้อห้ าม
หรือ หลอกเพื่อไม่ให้ลูกได้ทำสิ่งต่าง ๆ เช่น “ออกไปนอกบ้าน ระวั งตำรวจ จั บ นะ” หรือ “ถ้าซนมาก ๆ เดี๋ยวตุ๊กแกกิน ตั บ นะ”
การขู่ในลักษณะแบบนี้ หากทำบ่อย ๆ ลูกจะซึบซับและจะกลายเป็นการกลัวฝังใจ
กลัวแม้กระทั่งเรื่องนิด ๆ หน่อย ๆ ทำให้เด็ กกลายเป็นคนขี้กลัว ซึ่งความกลัวเหล่านี้จะเป็นสาเหตุ
ให้เด็ กเก็บไปฝัน และนอนผวาในตอนกลางคืนได้ ถือเป็นการบั่ นทอนสุ ขภาพของเด็ กอย่ างมาก
สำหรับเด็ กแล้ว เรื่องของจิตใจกับความรู้สึกถือ เป็นเรื่องใหญ่ที่สำคัญ ไม่น้อยกว่าการเอาใจใส่ดูแลสุ ขภาพร่ างกาย
เพราะสองอย่ างนี้จะเติบโตคู่ไปกับลูก ดังนั้น พ่อแม่ไม่ควรเผลอกระทำสิ่งเหล่านี้ ลงไปให้ลูกรู้สึกแ ย่หรือไม่ดี
เพื่อให้ลูกได้เติบโตมาเป็นเด็ กที่มีอ ารมณ์ดี มีจิตใจมั่นคง และร่ างกายที่แข็งแรงในอนาคตนะคะ
ขอบคุณที่มา : verrysmilejung