ให้อภั ยแต่ไม่สุงสิงด้วย ทุ กข์ต กอยู่ที่คนเกลียด กร รมต กอยู่ที่คนเคีย ดแ ค้น
คนที่ไม่ทุ กข์ ไม่มีกร รม… คือ คนที่ไม่เกลียด ไม่เคียดแค้นใคร ใครให้อภั ยก่อน ก็มีความสุ ขในชีวิต ก่อน
ให้อภั ย แต่ไม่ให้โอกาส ให้อภั ยแต่ไม่กลับไปคบ คุณต้องเข้าใจก่อนว่า… “ให้อภั ย” กับ “ให้โอกาส” มันคนละส่วนกัน
การให้อภั ย คือ การยกโ ทษทางจิตใจ ในสิ่งผิดที่เขาทำต่อเรา ทำให้ความรู้สึกของความโกรธแค้น
ของเราบรรเทา เรารู้สึกว่าเราให้อภั ยเขาได้ เราจึงให้อภั ย ให้อภั ย โดยไม่ขึ้นกับว่าคนที่ทำผิดนั้นจะเป็นอย่ างไร
จะเสี ยใจ จะชดใช้ จะรับโ ทษ หรือเปล่า เราไม่ต้องไปสน
แต่เราก็ให้อภั ยเขาได้ เพื่อปลดปล่อย ความโกรธ ออกจากใจเรา
บางครั้ง เราไม่ให้อภั ยบางคน เพราะ… คิดว่าเราทำไม่ได้
หรือ ไม่เราก็รู้สึกว่า เราไม่อย ากให้อภั ย เราจะเก็บความโกรธแค้นนี้ไว้
เพราะเขาไม่สมควรได้รับการให้อภั ย แต่ในขณะเดียวกันนั้น
เรากลับไม่รู้ตัวว่าจิตใจที่โกรธแค้นนั้น มาพร้อมกับความทุ กข์และมันทำร้ ายเราเสมอ
คนที่ทำผิดกับเรา ไม่ได้มารู้สึกด้วยกับเราเลย การให้อภั ย ก็ไม่ได้หมายความว่า เราจะต้องกลับไปดีกับเขา
แต่เป็นการทำให้เราพ้นจากจิตใจที่เคี ยดแค้ น และเจ็ บป วดต่างหาก เคยได้ยินไหม.. “ให้อภั ย”
แต่.. “ไม่สุงสิงด้วย” “ยกโ ทษให้” แต่… “ไม่กลับไปคบ” ให้อภั ยเขา เราสุข โกรธเขา เกลี ยดเขา เราก็ทุ กข์เอง
ให้อภั ยมันช่วยปลดปล่อยเราจาก.. ความทุ กข์ และ ความแ ค้น คนที่ทำได้คือ คนที่ชนะไม่ใช่พ่ายแพ้
จริง ๆ แล้วการให้อภั ย กับการให้โอกาส เป็นคนละส่วนกัน เราให้อภั ยแต่ไม่ให้โอกาสได้
เพราะการให้อภั ยคือการยกโ ทษทางจิตใจที่ปลดปล่อยตัวเราจากการถูกทำร้ ายทางใจ
แต่การให้โอกาสต้องมาพร้อม กับการพิสูจน์ตัวเองของคนทำผิด ถ้าคนทำผิดไม่ได้กลับใจ ไม่ได้เสี ยใจ
เราไม่จำเป็นต้องให้โอกาสเสมอไป และบางครั้งเขายังต้องรับโ ทษ จากความผิดนั้น
แต่ส่วนของเรานั้น แค่ยกโ ทษให้เขา แล้วเดินหนีออกมาเอาความสุขของเรากลับคืนมาใหม่เป็นของเรา
การให้อภั ย ทำให้เราได้ชีวิตและความสุขของเรากลับมา
ขอบคุณที่มา : doungrasi