ข้อแรก เด็ กไม่ได้รับความสนใจเมื่อทำตัวดี
อย่ างที่บอกไปข้างต้น ว่าโดยทั่วไปเด็ กต้องการความรัก ความใส่ใจ คำพูดดี ๆ จากจากพ่อแม่ แต่หากเด็ กทำตัวดี
เชื่อฟังว่านอนสอนง่ายมาเรื่อย ๆ แล้วพ่อแม่กลับทำเฉยไม่สนใจ เหมือนมองไม่เห็นการทำดีนั้น
พอมาวันหนึ่ง ด้วยเหตุอะไรก็ตามเด็ กบังเอิญได้ทำตัวไม่ดี ดื้อไม่เชื่อฟัง อ า ละ ว า ด โวยวายขึ้นมาสักครั้งสองครั้ง
พ่อแม่รีบเข้ามาสนใจ ให้ความสำคัญ เห็นเป็นเรื่องใหญ่และบางทียังได้ของที่อย ากได้ (ที่เวลาพูดขอดี ๆ กลับไม่ได้)
เพื่อเป็นการตัดรำคาญหรือติ ดสินบนให้หยุดดื้อ หยุดโวยวาย อ า ล ะว า ด เอาแต่ใจหากเป็นแบบนี้
เด็ กจะเรียนรู้ที่จะทำตัวไม่ดีเวลาอย ากได้ความสนใจหรือเวลาอย ากได้อะไรจากผู้ใหญ่
วิ ธีแก้ พ่อแม่ให้ “ความสนใจทางบวก” เวลาลูกทำตัวดี
ให้เป็นคำชม ยิ้มให้ลูก พยักหน้าแสดงความสนใจ แสดงท่ารับรู้ ลูบศีรษะ กอด ฯลฯ
ทำเช่นนี้บ่อย ๆ ทุ กครั้งที่ลูกทำตัวดีการให้ความสนใจทางบวกกับลูกอย่ างสม่ำเสมอ
เป็นเสมือนการเติมพลังใจ สร้างแรงจูงใจในการทำตัวดีให้กับลูกเป็นการแสดงออก
ให้ลูกรู้ว่าคุณรับรู้คุณค่าในตัวเขา ตอบสนองความต้องการของลูก
ที่อย ากได้การยอมรับความรักความสนใจจากพ่อแม่และผู้ใหญ่
ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นความต้องการพื้นฐานที่มนุษย์ทุ กคนต้องการ
ข้อสอง ลูกไม่ได้รับการสอนว่าพฤติกร รมที่ดีคืออะไร
บางบ้านไม่สอนอะไรว่าอะไรถูก อะไรผิด อะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้
ไม่มีการกำหนดขอบเขตพฤติกรร มที่ควรและไม่ควรทำในครอบครัว
วิ ธีแก้ สั่งสอนลูก ชี้แนะให้รู้จักขอบเขตที่ชัดเจนของพฤติกร ร มที่ทำได้และทำไม่ได้
ตัวอย่ างในการสอนลูก เวลาเห็นลูกทำตัวไม่เหมาะสมในเรื่องใดก็ตาม ควรพูดเตื อนทันที
อย่ าปล่อยผ่ านไป โดยให้พูดบอก “สั้น ๆ ง่าย ๆ” ใช้น้ำเสี ยง สีหน้ากลาง ๆ ไม่ใช้อ ารมณ์
แต่ท่าทางเอาจริงลองฝึกพูดกับหน้ากระจกดูก่อนก็ได้ว่าหน้าตาท่าทางเราดูคุ กคามลูกเกินไปมั๊ย
หรือน้ำเสี ยงเราอ่อน ข าดความเด็ดข าดตัองบาลานซ์ให้พูดกับลูกสาววัย 4 ขวบ
ที่กำลังแ ย่ง ของเล่นจากพี่ชายวัย 6 ขวบ ว่า “หนูไม่ แ ย่ ง ของจากมือพี่ หนูขอพี่แล้วรอให้พี่ส่งของให้ค่ะ”
เมื่อลูกเอาเท้ายกขึ้นมาบนโต๊ะตอนกินอาหาร ให้พูดกับลูกว่า “โต๊ะไว้วางอาหาร ลูกเอาเท้าวางบนพื้นค่ะ”
ข้อสาม ลูกเห็นพฤติกร รมไม่เหมาะสมจากพ่อแม่ และเกิดการเลียนแบบ
วิ ธีแก้ เตื อนตัวเองว่าลูกจำ และเรียนรู้จากเรา เราต้องเป็นต้นแบบของพฤติกรร มที่เหมาะสมให้กับลูก
ข้อสี่ ลูกโกรธ เศร้า หรือกังวล
เวลาเด็ กมีความรู้สึกลบ ๆ พวกเขามักจะระบายอ ารมณ์ ออกมาเป็นพฤติกร รมที่ไม่เหมาะสม
เช่น ดื้อ ต่ อ ต้ า น ก้าวร้ าว ทำ ร้ า ย คนอื่น ทำ ล า ย ข้าวของ
วิ ธีแก้ ก่อนที่จะพูดตำหนิหรือไม่พอใจลูก ให้ลองพิจารณาว่าช่วงนี้
ลูกมีอ ารมณ์และการแสดงออกด้านอื่นที่เปลี่ยนไปจากเดิมด้วยหรือไม่
เช่น เงียบลง ดูหงอย ๆ แยกตัว ไม่ร่าเริง กินน้อย นอนย าก ร้องไห้ง่ายกว่าเดิม
หงุดหงิดง่าย ขี้โมโหกว่าเดิมถ้าพ่อแม่สังเกตเห็นอาการเหล่านี้
ให้ลองคุยกับลูกว่ามีเรื่องอะไรไม่สบายใจ ลองถามดูว่าที่โรงเรียนเป็นยังไง
ทั้งเรื่องครู เรื่องเพื่อน เรื่องการเรียนถามไถ่ชีวิตลูก จะได้รู้สาเหตุที่ทำให้ลูกมีอ ารมณ์
และการแสดงออกที่ผิดไปจากเดิม อาจจะช่วยชี้แนะลูกถ้าช่วยได้
ข้อห้า พื้นอ ารมณ์ของลูก
เด็ กบางคนเป็นเด็ กที่มีพื้น อ ารมณ์อ่อนไหว หงุดหงิดง่าย ปรับตัวย าก มีความคิดและอ ารมณ์ค่อนไปทางลบ
เด็ กกลุ่มนี้มักจะแสดงท่าที ต่ อ ต้ า น ไม่ร่วมมือกับคนอื่นอยู่บ่อย ๆ มีความคับข้องใจง่ายจะแสดงพฤติกรร มถดถอย ทำตัวไม่สมวัย
วิ ธีแก้ พ่อแม่ควรทำความเข้าใจ ในเรื่องพื้นอ ารมณ์ของเ ด็ก และตอบสนองลูกให้เหมาะกับพื้นอ ารมณ์ของเค้า
จะช่วยลดความคับข้องใจของลูกลงไปได้ ช่วยให้ลูกปรับตัวกับสิ่งต่าง ๆ ได้ดีขึ้น
เมื่อคุณพ่อคุณแม่ทราบถึง 5 สาเหตุสำคัญที่ทำให้ลูก มีพฤติกร รมดื้อ ต่อต้ าน ไม่เชื่อฟังแล้ว
ลองนำไปใช้สังเกตลูกดูว่าเป็นแบบนี้หรือไม่ หากพบว่าใช่ ควรรีบปรับพฤติกร รมตัวเอง
เน้นที่พ่อแม่ปรับพฤติกร รมของตัวเองที่กระทำต่อลูก จะพบว่าลูกร่วมมือกับพ่อแม่มากขึ้น ต่ อ ต้ า น ลดลง
ให้ค่อย ๆ ปรับตัวเองและ สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกเพิ่มขึ้นทุ กวัน แต่หากลูกยังมีพฤติกร รมดื้อ ต่ อ ต้ า น เช่นเดิม
แนะนำว่าควรปรึกษากุม ารแพทย์หรือจิ ตแพทย์ เด็ กเพื่อประเมินสภาวะอ ารมณ์ จิตใจ ความคิด
และการปรับตัวของลูก เพื่อได้รับการดูแลช่วยเหลือให้ตรงสาเหตุต่อไป
ขอบคุณที่มา : verrysmilejung