1. เริ่มเก็บเงิ นจากจุดเล็ก ๆ
ช่วงเริ่มต้นที่เงิ นเดือนไม่มากและ ยังมีห นี้สินล้นพ้นตัว อาจจะต้องเริ่มเก็บเงิ นจากสิ่งเล็ก ๆ ก่อน
เช่น เงิ นเหรียญที่เหลือจากค่าใช้จ่ายในแต่ละวัน หยอดใส่กระปุกออมสินเอาไว้ในทุ ก ๆ วัน
หรือเก็บเศษของเงิ นเดือนในแต่ละเดือน เช่น เงิ นเดือน 15,650 บาท ให้เก็บเอาไว้ 650 บาท เป็นต้น
เป็นการเริ่มต้นออมเงิ นอย่ างง่าย ๆ ที่ไม่ทำให้คุณต้อง ลำบากมากนัก
2. ปรับตารางการเงิ นเสี ยใหม่
สำรวจรายรับรายจ่าย ในแต่ละเดือนเพื่อให้รู้สถานะทางการเ งินที่แท้จริง จะได้วางแผนใช้เงิ นและออมเงิ นได้เหมาะกับตัวเอง
เพราะมีหลายคนที่ออมเ งิน ไม่ตรงกับสไตล์การใช้ชีวิต ทำให้เสี ยเงิ นไปกับเรื่องไม่จำเป็นและเป็นห นี้เพิ่มขึ้น
เช่น บอกว่าให้ออมเ งิน 10% ของเงิ นเดือน ซึ่งถ้าหากคุณมีเงิ นเดือนประมาณ 1.5 หมื่นบาท
แต่มีห นี้เกินกว่า 40% ของเงิ นเดือน คือ 6,000 บาท เท่ากับเหลือเงิ นใช้ 9,000 บาท
ซึ่งที่เหลือนี้คุณต้องจ่ายให้กับค่าใช้จ่าย ประจำในแต่ละเดือนอย่ างค่าบ้าน 3,000 บาท ค่าโทรศัพท์ 600 บาท
ค่าน้ำค่าไฟ 800 บาท ส่งเงิ นให้ครอบครัว 2,000 บาท รวม ๆ แล้วคุณเหลือเงิ นใช้ทั้งเดือนเพียง 2,600 บาทเท่านั้น
ซึ่งเมื่อต้องหักเ งินออม 10% ของเงิ นเดือนก่อนที่จะใช้จ่ายอย่ างอื่น ก็เท่ากับว่าเงิ นในแต่ละเดือนของคุณติ ดลบ
และไม่พอใช้แน่นอน และอาจจะตามมาด้วยการเริ่มต้นเป็นห นี้ และคุณภาพชีวิตในแต่ละวัน ก็ไม่ดีด้วย
เพราะต้องประหยัดอย่ างถึงที่สุด ดังนั้นตรวจสอบสถานะทางการเงิ นของตัวเองก่อนที่จะเริ่มออมเงิ น
เพื่อจะได้หาวิ ธีที่เหมาะสมที่สุดกับตัวเอง ค่อยขยับปรับเปลี่ยนแล้วออมไม่ถึง 10% ในตอนแรก
เมื่อปรับตัวได้ ลดค่าใช้จ่ายตรงอื่นแล้วจึงค่อยเพิ่มปริมาณไปเรื่อย ๆ
3. เปลี่ยนไลฟ์สไตล์การใช้เ งิน
เมื่อรู้สถานะทางการเงิ นของตัวเองแล้วก็สำรวจพฤติกร รมของตัวเอง ด้วยเช่นกันว่ามีอะไรที่เป็นอุปสรรคต่อการเก็บเ งิน
อย่ างเช่นชอบใช้เ งินเกินตัว จนเป็นสาเหตุที่ทำให้มีห นี้สิน มีนิสัยชอบสร้างห นี้ ชอบใช้ของเกินฐานะและเป็นของที่ไม่จำเป็น
ซึ่งจะต้องแก้ไขพฤติกร รมเหล่านี้โดยด่วน ตัดทอนการใช้จ่ายบางอย่ างออกไป
4. แบ่งเงิ นใช้ให้พอดีเป็นวัน ๆ
เช่น วันละ 350 บาท อย่ าพกเงิ นติ ดตัวทีละเยอะ ๆ แต่ละวันหยิบเงิ นมาใช้ แค่จำนวนพอดี เพื่อบังคับให้ใช้เ งิน
เท่าที่จำเป็นในจำนวนเงิ นที่มีอยู่ หลายคนเวลา เข้าร้านสะดวกซื้ อ เพราะตั้งใจซื้อของแค่อย่ างเดียว
แต่เมื่อเข้าไปในร้านก็อดไม่ได้ที่จะหยิบของชิ้นอื่น ๆ เพิ่ม ดังนั้นหยิบเงิ นไปแค่พอซื้อของที่ต้องการก็พอ
5. จัดการห นี้สินอย่ างเป็นระบบ
อุปสรรคที่สำคัญอย่ างหนึ่ง ของความมั่งคั่งก็คือห นี้สิน จึงต้องจัดการกับปัญหาห นี้สินให้เป็นระบบก่อนกั ดฟั น
ใช้ห นี้จำนวนน้อย ๆ ก่อน จะได้ลดภาระห นี้สินในเดือนต่อ ๆ ไปให้ลดน้อยลง เริ่มจากเมื่อได้เงิ นก้อนใหญ่อย่ างโบนัส
หรือเงิ นจากการทำงานพิเศษ ให้นำมาปิดห นี้สินที่มียอดน้อย ๆ ก่อน ส่วนห นี้ที่มียอดสูง ๆ ก็จ่ายเพียงขั้นต่ำไปก่อนเพื่อประคองตัว
จากนั้นเมื่อห นี้สินก้อนเล็ก ๆ หมดไป ก็จะทำให้เหลือเ งิน ในแต่ละเดือนเยอะขึ้นและค่อยทยอยจ่ายห นี้ก้อนใหญ่ต่อไป
6. ประหยัดให้มากขึ้น
จากการประหยัด ค่าใช้จ่ายเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น ปิดไฟด วงที่ไม่จำเป็น ประหยัดน้ำ เพื่อลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้ำค่าไฟประจำเดือน
ใช้โทรศัพท์แบบเติมเ งิน แทนการใช้รายเดือน และใช้เท่าที่จำเป็น ซื้ อกับข้าวมาทำเอง และทำอาห ารไปกินที่ทำงาน
อร่อยแถมยังได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์อีกด้วย เลือกซื้ อของลดราคา
แต่ต้องพิจารณาดูแล้วว่าเป็นของที่จำเป็นต้องใช้จริง ๆ เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อของเข้าบ้านได้อีกเพียบ
7. หารายได้เพิ่ม
ถ้ารายได้น้อยไม่ค่อยพอ กับค่าใช้จ่าย ต้องหารายได้เสริมเพื่อให้มีเงิ นมากขึ้น โดยอาจจะเริ่มจากงานเสริมพาร์ตไทม์
ช่วงเย็นหลังเลิกงาน หรือช่วงเส าร์-อาทิตย์ หากมีความรู้พิเศษเฉพาะทางก็สามารถรับงานฟรีแลนซ์มาทำได้
เพื่อให้มีเงิ นเพียงพอกับค่าใช้จ่าย เสริมสภาพคล่องในแต่ละเดือนให้มากขึ้น
8. ตั้งเป้าเงิ นออม
สัญญากับตัวเองไว้ ว่าภายใน 1 ปีจะต้องมีเงิ นเก็บเท่าไหร่ เพื่อที่จะได้มีแรงจูงใจในการเก็บเ งิน
โดยอาจจะทำเป็นสมุดจดบันทึกเพื่อให้เห็นพัฒนาการของจำนวนเ งินเก็บในแต่ละวัน หรือแต่ละสัปดาห์เพิ่มมากขึ้นแค่ไหน
และต้องเก็บเงิ นอีกเท่าไหร่จึงจะถึงเป้าหมายที่ตั้งเอาไว้ ทำไปเรื่อย ๆ ก็จะติ ดนิสัยรักการออมได้ในที่สุด
ขอบคุณที่มา : sabailey