1. ลูกเป็น “เด็ กดี” ของพ่อกับแม่
พ่อแม่ทุ กคนควรทำความเข้าใจ ธรรมชาติของเด็ กก่อนว่า เด็ กทุ กคนอย ากได้รับคำชมเชย
และได้ยินคำยืนยันจากพ่อแม่อีกสักครั้ง ว่าเขาเป็นลูกที่ดีพอ หรือไม่ ดังนั้นหากลูก
เป็นเด็ กดีมีน้ำใจน่ารักกับทุ กคน พ่อแม่ก็ควรชมเชยลูกบ้างว่า “ลูกเป็นเ ด็กดีของพ่อและแม่มาก
เพราะการที่เขาได้ยินคำพูดเหล่านี้ มันจะทำให้ลูกเห็นคุณค่าในตัวเองมากขึ้น
และเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัวอีกด้วย
2. พ่อกับแม่ “ภูมิใจ” ในตัวลูกมากนะ
มันอาจมีบางอย่ างที่ลูกทำให้พ่อแม่รู้สึกภูมิใจมากป็นพิเศษ ไม่ว่าจะเป็นการแสดง
ความเป็นสุภาพบุรษ มีน้ำใจหรือแสดงความสามารถพิเศษ ให้เห็นอยู่เสมอ
พ่อแม่ทุ กคนควรลองนึกดูดีๆว่า จุดเด่นของลูกคืออะไร
แล้วสิ่งใดที่ทำให้พ่อแม่ภูมิใจในตัวเขา ก็ใช้ช่วงเวลาดี ๆ บอกให้ลูกได้รับรู้บ้างว่า
“พ่อกับแม่ภูมิใจในตัวลูกมากน้อยแค่ไหน” เพราะคำพูดเพียงไม่กี่คำนี้
มันจะเปลี่ยนเป็นพลังและกำลังใจให้ลูกได้อย่ างมหัศจรรย์ทีเดียว
3. พ่อกับแม่ “รัก” ลูกมากนะ
แน่นอนว่าลูกคือด วงใจของพ่อแม่ แต่การที่ละเลยคำพูดง่าย ๆ และมีค่าขนาดนี้
มันก็เป็นสิ่งผิ ดพลาดที่ยิ่งใหญ่พอควร เพราะคนหลายคน ไม่มีโอกาสที่จะบอกรักลูก
ในวินาทีสุดท้ายเลยด้วยซ้ำ ในทางกลับกัน ไม่ว่าจะเป็นลูกหรือพ่อแม่ รวมไปถึงคนทุ กคน
ก็ควรให้ความสำคัญกับความรัก และคำพูดไปพร้อม ๆ กัน ก่อนที่พ่อแม่จะไม่มีลูกให้บอกรัก
หรือลูกบอกรักในวันที่สายเกินไป ทั้งนี้อย่ ามัวแต่แสดงความรัก และเชื่อว่า
ลูกรู้อยู่แล้วว่าพ่อแม่รักลูกมากแค่ไหน เพราะบางเวลาคำพูดก็สำคัญ
ไม่แพ้การกระทำเช่นกัน ดังนั้นบอกรักลูกบ้าง เขาจะได้รู้ว่าจริง ๆ แล้วพ่อแม่รักลูกมากแค่ไหน
4. พ่อกับแม่ “เชื่อมั่น” ในตัวลูกเสมอนะ
ช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยเฉพาะเมื่อลูกเริ่มเข้าสู่วัยรุ่น ความเปลี่ยนแปลงหลาย ๆ อย่ าง
อาจเข้ามาจนพ่อแม่ตั้งตัวไม่ติ ด ลูกอาจสูญเสี ยความมั่นใจ ในการตัดสินใจ
หรือลงมือทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หากใครเคยเจอปัญหาลูกอยู่ในช่วงสับสนแบบนี้
ลองถามตัวเองดูว่า เคยสละเวลาบอกลูกบ้างหรือไม่ว่า “พ่อกับแม่เชื่อมั่นในตัวลูกมากน้อยแค่ไหน
ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น พ่อและแม่ก็จะอยู่ข้างลูกเสมอ”
5. พ่อกับแม่ “สนับสนุน” ลูกเสมอนะ
พ่อแม่ทุ กคนควรตระหนักอยู่เสมอว่า “ลูกไม่ใช่เรา เราไม่ใช่ลูก” เพราะฉะนั้นอย่ าเอาลูก
ไปเปรียบเทียบกับตัวเอง สมัยเด็ ก ๆ บางอย่ างที่พ่อแม่ชอบ ลูกอาจไม่ชอบมุมมองที่ต่างกัน
ถ้าไม่เข้าใจกัน ก็ทำให้มีปัญหากันได้ และถ้าหากเด็ กบางคน ถูกบังคับมาก ๆ ก็จะรู้สึกว่า
เขาไม่มีความเป็นส่วนตัว ไร้อิสระ ท้อแท้และไม่มีความมั่นใจในตัวเอง ขณะที่บางคน
โตมาในครอบครัว นักกฎหมายแต่ต้องการเป็นนักเขียน หรือบางคนมีความต้องการ
ใช้ชีวิตอย่ างที่อย ากเป็น ไม่ว่าเขาจะเลือกเป็นอย่ างไร หากสิ่งที่เขาตัดสินใจนั้น
เป็นสิ่งที่ดี พ่อแม่ก็ควรสนับสนุนพวกเขา เพียงแค่บอกว่า “พ่อกับแม่ ยังคงเข้าใจ
และสนับสนุนลูกทุ กเมื่อ ถ้าสิ่งนั้นมันเป็นสิ่งที่ดีและลูกต้องการ”
6. พ่อกับแม่ “ยอมรับ” ในสิ่งที่ลูกเป็น
เมื่อลูกเริ่มโตขึ้นมากเท่าไหร่ เขา ยิ่งต้องการการยอมรับ จากพ่อและแม่มากขึ้นเท่านั้น
ในความเป็นจริงแล้ว ลูกมักจะพย าย ามทำทุ กอย่ าง เพื่อให้พ่อแม่ยอมรับใน
ตัวเขาไม่ว่า จะเป็นเรื่องการตัดสินใจในความรัก วัยเด็ กหรือการกระทำต่าง ๆ
ที่ลูกอาจมีพฤติกร รมเบี่ยงเบน แม้พ่อแม่จะอยู่คอยดูอยู่ห่าง ๆ และการที่ลูกรู้ว่า
พ่อแม่ยอมรับในสิ่งที่ลูกเป็น และเลือกแล้วนั้น แสดงให้เห็นว่าพ่อแม่ไม่ได้ละ
เลยแต่อย่ างใดอีกทั้งยังคงรัก และเข้าใจอยู่เสมอด้วย เพียงแค่พ่อแม่บอกกับลูกว่า
“พ่อแม่เข้าใจและยอมรับลูกเสมอไม่ว่าลูกจะเป็นอย่ างไรก็ตาม”
ขอบคุณที่มา : stand-smiling