ให้อภั ยกับให้โอกาสนั้นคนละเรื่องกัน การให้อภั ยคือ
การยกโ ทษทางจิตใจในสิ่งผิด ที่เขาทำต่อเรา
การให้อภั ยมีสองระดับ
ระดับแรกคือ ให้อภั ยเมื่อรู้สึกว่า เขารับผิดและแก้ไขอย่ างดีแล้ว
เมื่อคนคนหนึ่งทำไม่ดีกับเรา และเขาได้รับโ ทษของความผิดนั้น
เขาพย าย ามชดใช้ ต่อสิ่งนั้น เขาขอโ ทษ เขาแก้ไข เขาชดใช้ เขาเ สียใจ
ทำให้ความรู้สึกของความโ ก ร ธแค้นของเราบรรเทา
เรารู้สึกว่า เราให้อภั ยเขาได้เราจึงให้อภั ย
ระดับที่สองคือ ให้อภั ยโดยไม่ขึ้นกับว่า คนที่ทำผิดนั้นจะเป็นอย่ างไร
จะเสี ยใจจะชดใช้จะรับโ ทษหรือเปล่า แต่เราก็ให้อภั ยเขาได้ ทั้งสองอย่ างนี้ล้วนต้องใช้เวลา
และการตัดสินใจด้วยกันทั้งนั้น แต่อย่ างที่สองย ากกว่า บางครั้งเราไม่ให้อภั ยบางคน
เพราะคิดว่าเราทำไม่ได้ มันย ากเกินไป มันหนักหนาเกินไป หรือไม่เราก็รู้สึกว่า
เราไม่อย ากให้อภั ย เราจะเก็บความโ ก ร ธแค้นนี้ไว้ เพราะเขาไม่สมควรได้รับการให้อภั ย
แต่ในขณะเดียวกันนั้น เรากลับไม่รู้ตัวว่า จิตใจที่โ ก ร ธแค้นนั้น มาพร้อมกับการกัดกินหัวใจ
และมันทำร้ ายเราเสมอ ไม่เคยทำร้ ายคนที่ทำผิดกับเราเลย มันคือย าพิ ษที่เราดื่มเข้าไปทุ กวัน
และตั้งจิตปณิธานว่าทุ กครั้ง ที่เราดื่มย าพิ ษนั้น จะทำให้คนที่เราโ ก ร ธแค้นนั้นต า ย
ซึ่งมันไม่ใช่การให้อภั ยไม่ได้ ทำให้เขาพ้นผิด แต่ทำให้เราพ้นจากจิตใจที่เคียดแค้น
และเ จ็ บป ว ดต่างหาก มันแก้ไขอ ดีตไม่ได้
แต่มันปลดปล่อยเราจากที่คุมขัง จองจำไปสู่อนาคตที่สดใสกว่า
คนที่ทำได้คือ คนที่ชนะไม่ใช่พ่ายแพ้ จริงๆแล้วการให้อภั ย กับการให้โอกาส
เป็นคนละส่วนกัน เราให้อภั ยแต่ไม่ให้โอกาสได้ เพราะการให้อภั ย คือ
การยกโ ทษทางจิตใจ ที่ปลดปล่อยตัวเราจากการถูกทำร้า ยทางใจ แต่การให้โอกาส
ต้องมาพร้อมกับการพิสูจน์ตัวเอง ของคนทำผิด ถ้าคนทำผิด
ไม่ได้กลับใจไ ม่ได้เสี ยใจ เราไม่จำเป็นต้องให้โอกาสเสมอไป
และบางครั้ง เขา ยังต้องรับโ ทษจากความผิดนั้น แต่ส่วนของเรานั้น
แค่เดินออ กมาแล้วยกโ ทษให้เขา ออ กจากที่คุมขังแห่งความแค้นใจ
เอาชีวิตของเรากลับคืน มาใหม่เป็นของเรา และเอาไปใช้ให้มีความสุข
กับการเริ่มต้นใหม่ดีกว่า การให้อภั ยทำให้เราได้ชีวิตของเรากลับมา
ขอบคุณที่มา : narukdee