1. การเหยียบคันเร่งช่วงออกตัว
หลายคนติ ดนิสัยการเห ยี ย บคันเร่งเพื่อวอร์มเครื่อง และชอบเหยียบคันเร่งค้าง
เอ าไว้ก่อนออกตัวเพื่อที่จะได้ออกตัวได้ไวขึ้น แต่การทำเช่นนี้บ่อย ๆ จะทำให้ชุดเกียร์
ถูกกระ ช า กและทำให้ชุดเพลาที่ทำการขับเคลื่อนรถ
รวมทั้งย า ง รองแทนเครื่องยนต์เ สื่ อ มและ พั ง เร็วขึ้น
2. การเหยียบคันเร่งจนมิดช่วงแซง
เวลาที่จะแซงรถคันหน้า คนขับมักเหยียบคันเร่งจนสุดเพื่อเร่งความเร็วให้แซงรถอีกคันได้พ้น
ซึ่งการกระทำนี้จะทำให้ชุดเกียร์ของรถเ สียหายได้ง่าย และกลายเป็นการลดอายุการใช้งาน
ของเกียร์ให้สั้นลง การเหยียบคันเร่งจนมิดจะทำให้เกิดการสึกหรอของชุดเกียร์
เพราะฟั นเฟืองต่าง ๆ ในระบบจะหมุนด้วยความเร็วสูง เกิดการเสี ยดสีและมีความร้อนเกิดขึ้น
วิ ธีการแซงที่ดีที่สุดคือ รอจังหวะที่ไม่มีรถสวนมาแล้วใช้ความเร็วที่เหมาะสมในการขึ้นแซง
โดยไม่ต้องเหยียบคันเร่งจนสุดจะช่วยรั ก ษ าแล ถนอมระบบเกียร์รถได้ดีกว่าและปลอดภั ยกว่าด้วย
3. อ ย่ า ออกตัวโดยไม่เหยียบเบรค
บางคนอาจมีนิสัยการออกตัวทันทีโดยไม่เหยี ยบเบรค ซึ่งอาจทำให้ระบบเกียร์สึ กหรอเร็วยิ่งขึ้น
ตามหลักแล้วควรที่จะเหยี ยบเบรคก่อนแล้วจึงค่อยเปลี่ยนเกียร์ไปตำแหน่งต่าง ๆ
เพื่อป้องกันไม่ให้รถก ระตุก และยังช่วยป้องกันรถไหล
ไปชนกับรถคันอื่น ป้องกันการเกิด อุ บั ติ เ ห ตุได้อีกด้วย
4. การเข้าเกียร์ว่างก่อนรถหยุด
ไม่ควรเข้าเกียร์ว่างก่อนที่จะหยุดรถหรือชะลอความเร็ว หลายคนเชื่อว่า
การเข้าเกียร์ว่างแล้วปล่อยให้รถไหล จะทำให้ประหยัดน้ำมันซึ่งความจริงแล้วไม่ถูกต้องนัก
เพราะนอกจากจะไม่ช่วยประหยัดน้ำมันแล้วยังทำให้ระบบเกียร์พังง่าย
เพราะทำให้ชิ้นส่วนที่เป็นระบบตัดกำลังของเกียร์ออโต้เสี ยหาย
5. อ ย่ าเดินหน้าหรือถอยหลัง ในตอนที่รถจอดไม่สนิท
ในจังหวะที่เปลี่ยนเกียร์โดยที่รถยังไม่จอดหรือหยุดสนิท เช่น การใส่เกียร์ถอยหลังในขณะที่
รถกำลังไหลไปด้านหน้านั้น จะทำให้ระบบการขับเคลื่อนภายในถูกกระช า ก
ในทิศทางที่สวนกันอ ย่ า งรวดเร็วเกินไป หากเกิดบ่อย ๆ จะทำให้อ า ยุ ง า นของระบบเกียร์สั้นลง
6. อ ย่ า เข้าเกียร์ P ตอนติ ดไฟแดง
การใช้เกียร์ P นั้นควรใช้ในตอนที่รถเข้าที่จอดรถแบบสนิทจริง ๆ เท่านั้น
เพราะหากเราใช้ขณะรถจอดติ ดไฟแดงแล้วเกิดเห ตุ ฉุ ก เ ฉิ น อ ย่ า ง มีรถมาชนท้ายเรา
จะทำให้ระบบเกียร์ของเราที่ล็อคสนิทแล้วถูกแรงชนไปข้างหน้า ทำให้ชุดเกียร์พังได้
ขอบคุณที่มา : postsabaidee