1. ที่ดินที่เรามีนั้นใช่ว่าเป็นของเราแล้วแล้วไม่เข้าไปดูแล
ควรเข้าไปจัด การควรที่จะเข้าไปสำรวจดูแลที่ดินของตนเอง อย่ างน้อยปีละ 1 ครั้งเป็นอย่ างต่ำ
2. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าไม่มีคนแอบเข้ามาใช้ประโยชน์ในที่ดินของตนเอง
อาจจะมีการสอบถามเพื่อนบ้ า นละแวกใกล้เคียงหรือหมั่นสังเกตความเปลี่ยนแปลงในที่ดินของตนเองได้
3. ให้เราดูว่าหลักหมุดที่ได้ปักอยู่นั้นอยู่ที่เดิมหรือไม่มีการชำรุดเสี ยหายหรือหายไปหรือไม่
หรือมีการเคลื่อนย้ ายหรือไม่ เพราะหลักหมุดนั้นได้มีความสำคัญต่อที่ดิน เพื่อเป็นการยืนยันทางกรมที่ดินด้วย
4. หากมีเหตุการณ์หลักหมุดที่เราปักเอาไว้หาย ให้รีบแจ้ง
ความเพื่อลงบันทึกประจำวัน นำเอกส า รไปยื่นเรื่องกับกรมที่ดินทำในขั้นตอนถัดไป
5. ที่ดินที่ได้มีอยู่นั้นหากอยู่ริมตลิ่ง ริมน้ำ ควรที่จะทำการวัดที่ดินในทุ ก ๆ 5 ปี
เพื่อเป็นการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ เพราะอาจจะเพิ่มหรือลดไปก็ได้ ทั้งนี้รวมถึงที่ดินบริเวณอื่น ๆ ด้วย
6. หากมีคนได้เข้ามาอาศัยอยู่ในที่ดิน ให้ทำการพูดคุยต กลงกันให้เรียบร้อยว่าจะทำการเช่าหรือทำการซื้อ
เพื่อที่จะไม่ให้เกิดปัญหาตามมาได้ในภายหลัง และมีการทำสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรให้เรียบร้อย
ถ้าหากต กลงกันไม่ได้ควรที่จะให้ออกจากที่ดินบริเวณของเราได้ ในทันที
7. ล้อมรั้วบริเวณที่ดินให้เด่นชัด เพื่อเป็นการกำหนดอาณาเขตบริเวณที่ดินของเราให้ชัดเจน
8. แสดงป้ายให้ได้เห็นว่า ที่ดินผืนนี้เป็นที่ดินส่วนบุคคล
เพื่อที่จะป้อง กันไม่ให้ผู้อื่นเกิดความเข้าใจผิดว่าเป็นที่ดินของสาธารณะ
9. ควรที่จะสังเกตร่องรอยการเดินผ่ า นหรือเป็นทางรถ
เพราะถ้าหากว่าไม่มีการกั้นอาณาเขตเอาไว้ ผู้คนอาจจะเข้าใจว่าเป็นทางผ่ า นที่สามารถใช้ผ่ า นได้เป็นประจำ
ขอบคุณที่มา : postsod