1. ลูกรู้จักตั้งเป้าหมายว่าจะออมเงิ นเพื่ออะไร
เช่น ออมเงิ นไว้ซื้อของเล่นที่อย ากได้ ออมเ งินไว้สำหรับซื้อของให้
พ่อแม่ เป็นต้น
2 ลูกได้เรียนรู้การวางแผน
ลูกอย ากได้ของเล่น ต้องเก็บเงิ นวันละเท่าไหร่ และต้องใช้ระยะเวลา
ในการเก็บกี่วัน จึงจะพอซื้อของเล่น 1 ชิ้น เป็นต้น
3. รู้จักอดทนรอคอย
บางครั้งการออมเงิ นก็เป็นเรื่องสนุกที่เด็ ก ๆ จะรู้สึกตื่นเต้นและเฝ้ารอวันที่
กระปุกออมสินเต็ม หรือวันที่มีเงิ นเพียงพอที่จะซื้อของที่เขาอย ากได้
4. เกิดความยืดหยุ่น
แม้จุดประสงค์หลักที่ลูกออมเงิ นเพื่อซื้อของเล่น แต่เมื่อเวลาผ่ านไป
ลูกอาจไม่อย ากได้ของเล่นที่เขาเคยอย ากเล่นแล้ว เด็ กบางคน เมื่อเห็น
จำนวนเงิ นที่ตนเองเก็บออมได้ หลายคนมักจะรู้สึกเสี ยดาย เพราะฉะนั้น
ทางที่ดีควรรีบใช้โอกาสนี้พาลูกไปเปิดบัญชีธนาคารค่ะ
5. เกิดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
หลังจากที่หยอดเงิ นเต็มกระปุกห มูและพ่อแม่พาไปเปิดบัญชีออมทรัพย์
แล้ว เด็ กหลายคนมักจะชอบบรรย ากาศการฝากเงิ น และรู้สึกดีใจเมื่อเห็น
ยอดเงิ นในบัญชีเพิ่มขึ้น (ซึ่งผู้ใหญ่อย่ างพ่อกับแม่เองก็ชอบเช่นกัน)
ขอบคุณที่มา : create-readingth