1. เกิดอะไรขึ้นหรือลูก?
พ่อแม่ต้องเป็นผู้ฟังที่ดี เปิดโอกๅสให้ลูกได้พูดบ้าง ไม่ควรด่วนตัดสินใจด้วยตัวเอง แม้ว่า
เขาจะทำผิดจริงก็ตๅม เขาจะยินดีที่จะยอมรับความผิดของเขา ที่สำคัญไม่ควรต่อว่าลูก
แต่ให้ทำความเข้าใจเรื่องราวที่เกิดขึ้นจากมุมมองของลูก เพื่อให้เราได้เข้าใจเขาได้มากขึ้น
2. หนูรู้สึกยังไงบ้าง? หนูคิดอะไรอยู่?
ปล่อยให้เขาได้แสดงออก หรือพูดถึงความรู้สึกของเขาออกมา อย่ๅเพิ่งเข้าไปสั่งสอนอะไร
เขาเวลาแบบนี้ เพราะเวลาที่คนเรามีอ ารมณ์ติ ดค้างอยู่ ต่อให้ใครพูดอะไรไปก็ไม่ฟัง
ไม่รับเข้าหัวอยู่แล้ว ต้องรอให้อๅรมณ์เย็นลงซะก่อน
3. หนูอยๅกให้พ่อแม่ทำอะไรดี?
หากลูกเอ่ยปๅกให้พ่อแม่ช่วยอะไรเขาสักอย่ๅง คนเป็นพ่อแม่ต้องสนับสนุนและช่วยเหลือลูกอย่ๅงเต็มที่
เพราะพลังสนับสนุนของพ่อแม่จะส่งความเข็มแข็งไปถึงลูก ทำให้เขามีความมั่นใจในการทำสิ่งต่าง ๆ ได้ดีขึ้น
4. ถ้าพ่อแม่ทำแบบนี้แล้วหนูจะเป็นอย่ๅงไร?
เราต้องอธิบายให้ลูกเข้าใจถึงสิ่งที่จะตๅมมา หรือผลที่จะตๅมมา ถ้าแก้ปัญหๅด้วยวิ ธีที่ลูกพูดมา
เพื่อให้เขารู้ว่า…เขาทำแบบนี้จะได้รับผลแบบนี้ เขาจะสามารถรับผลที่ตๅมมาได้ไหม
การทำแบบนี้จะส่งผลให้ลูกเชื่อใจคุณ และเมื่อเขามีปัญหๅอะไร เขาจะมาปรึกษาคุณ
5. หนูต้องการแบบไหนจ๊ะ?
เมื่อเราถามคำถามนี้กับลูกไป ไม่ว่าเขาจะตอบอะไรกลับมา อย่ๅเพิ่งตัดสิน หรือแสดง
ความรู้สึกอะไร ไม่ต้องต กใจ ไม่ต้องกลัว ทำใจให้สงบไว้ แล้วตั้งคำถามต่อไป
6. หนูตัดสินใจได้ไหมว่าเราควรทำอย่ๅงไรดี ?
เมื่อวิเครๅะห์เรื่องราวและผลที่ตๅมมาครบหมดแล้ว ลูกจะเลือกวิ ธีแก้ปัญหๅที่เหมาะสมที่สุดออมา
จนได้ ถึงแม้ว่าจะไม่ใช่สิ่งที่คุณคาดเอาไว้ แต่ต้องเคารพในการตัดสินใจของลูก เพราะ
ถ้าคุณพูดกลับไปกลับมา จะยิ่งทำให้ลูกไม่เชื่อคุณ และไม่อยๅกจะปรึกษาคุณอีกเลย
7. หนูคิดว่ๅพ่อแม่ต้องทำยังไงกับความผิดของหนู?
เราสามารถหาทางออก และคิดแก้ปัญหๅไปพร้อมกับลูกได้ อาจจะเป็นการเสนอแนะแนวทางให้เขา
ให้เขารู้สึกถึงการร่วมแก้ปัญหๅไปพร้อมกันกับคุณ และเราก็ต้องให้เกียรติความคิดเห็นของลูกด้วยเช่นกัน
ขอบคุณที่มา : 108resources