1. แยกแยะ “ความอย าก” ออกจาก “ความจำเป็น“
ผมอาจจะไม่มีของเล่นที่อย ากได้ในวันนั้น แต่ครอบครัวผม ก็ไม่มีเลยซักวันที่จะไม่มีข้าวกิน ไม่มีน้ำดื่ม ไม่มีของจำเป็นต่าง ๆ ในการดำรงชีวิต บ้ านผมมีพ่อ แม่ และลูก ๆ อีก 4 คน
การบริหารคน 6 คนให้มีกิน มีใช้ไม่อดอย าก เป็นเรื่องที่ไม่ง่ายเลย แต่พ่อก็สามารถแสวงหาสิ่งของจำเป็นมาให้เราอย่ างไม่เคยข าด หากผมขอเงิ นไปซื้ อของกิน พ่อไม่เคยปฏิเสธเลย
ยกเว้นเวลาที่ขอไปซื้ อของที่ไม่เกิดประโยชน์ อย่ างเช่น ขอเ งินไปเล่นเกมส์กับเพื่อน เป็นต้น ตอนนั้นผมไม่เข้าใจพ่อซักนิด แต่ตอนนี้เข้าใจแล้วล่ะ ว่าสิ่งที่พ่อพย าย ามทำคืออะไร คือการที่จะบอกว่า หากต้องการประหยัด ความจำเป็น ต้องมาก่อน ความอย าก เสมอ
2. ติ ดตามการใช้จ่ายของตน
จนถึงทุ กวันนี้ พ่อผมยังจดบันทึกรายรับรายจ่ายอยู่เสมอ ซึ่งพ่อเป็นคนจดรายละเอียดได้แม่นยำมาก ๆ ลงในสมุดบันทึกส่วนตัวของพ่อ ผมเคยถามว่าพ่อทำไปทำไม พ่อบอกว่า
มันจะช่วยเตื อนไม่ให้เราใช้เงิ นเกินงบประมาณที่เราตั้งไว้ต่อเดือน แล้วหากรายจ่ายเรามากเกินไป เราจะได้รู้ว่า เราหมดไปกับอะไร จำเป็นหรือไม่ เพื่อที่จะได้ปรับเปลี่ยนการใช้จ่ายในเดือนถัดไป
3. ออมเงิ นและล ง ทุ น
ผมจำวันนั้นได้ วันที่พ่อพาไปเปิดสมุดบัญชีธนาคารครั้งแรก เพื่อก ร ะ ตุ้ น ให้ผมออมเงิ น พ่อผมออมเ งินในรูปของอสังหาริมทรัพย์ตั้งแต่ทำงานใหม่ ๆ และตอนนี้มันก็กลายเป็นแหล่งรายได้ในช่วงเวลาที่พ่อเกษียณ
แถมยังมีรายได้บางส่วนมาจากการเล่นหุ้นอีกด้วย นี่ยังไม่รวมเ งินบำนาญนะ เพราะฉะนั้น พ่อสอนว่า การออมเงิ น และล ง ทุ นเมื่อมีกำลังและโอกาส คือเรื่องสำคัญ และยิ่งไปกว่านั้น จำไว้เลยว่า “เริ่มก่อน ร วยก่อน“
4. มีวินัยทางการเ งิน
พ่อสอนเสมอว่า มีบิลอะไรต้องจ่าย ให้จ่ายตรงเวลา และหากเดือนไหน มีค่าใช้จ่ายอะไรที่สูงเกินไป เช่นค่าน้ำ หรือค่าไฟ พ่อก็จะบอกให้ทุ กคนรู้ เพื่อที่ทุ กคนในบ้ านจะได้ช่วยกันประหยัด
และการทำแบบนี้ทำให้บ้ านเราไม่เคยมีห นี้สิน และใครในบ้ านที่มีบั ต ร เ ค ร ดิ ต พ่อก็สอนว่า ทุ กคนต้องจ่ายบิลเต็มจำนวนทุ กครั้ง ในทุ กรอบบิล เพราะการติ ดห นี้ หมายถึง
เครดิตสกอร์ที่ไม่ดี และเสี ยด อ ก เ บี้ ยเยอะ ถ้ารู้ว่าจ่ายเยอะ ก็ลดรายจ่ายผ่ านบัตรลง ก่อนจะสายเกินไป และควรสำรวจตัวเองว่ามีวินัยพอหรือไม่ก่อนที่จะสมัครบั ต ร เ ค ร ดิ ต
ขอบคุณที่มา : jingjai999