1. เงิ นฝากประจำระยะเวลาตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไปสำหรับผู้มีอายุ 55 ปีบริบู รณ์
คุณสมบัติของเงิ นฝากประจำของธนาค ารพาณิ ชย์ทั่วไปที่จะได้รับย กเว้ นภ าษีตา มกฎหมายมาตรา 50(2) และมาตรา 56 แห่งประมวลกฎหมายรัษฎาก รนั้น
จะต้องเป็นด อกเบี้ยเ งินฝากประจำที่มีระยะเวลาการฝากตั้งแต่ 1 ปี(12 เดื อน)ขึ้นไปและเมื่อรวมกับดอ ก เบี้ยเ งินฝากประจำทุ กประเภ ทรวมกันแล้ว
ต้องมีจำนวนทั้งสิ้นไม่เกิน 3 หมื่นบาท ตล อดปีภา ษีนั้น และผู้ฝากต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 55 ปีบริบูรณ์(นับตามวันเดือนปีเกิด ของผู้ฝาก)
2. ฝากเงิ นกับส หกรณ์ออ มทรัพย์
ก่อนจะฝากเ งินกับสหกร ณ์ได้ ก็ต้องสมัครเป็นสมาชิกของสหก รณ์นั้น ๆ ก่อน โดยผลตอบแทนที่ได้จะมีทั้งในรูปแบบข องเงิ นปันผลและดอ ก เบี้ยเงิ นฝาก(อ อมทรัพย์)
ซึ่งผลตอบแทนทั้งสองรูปแบบจะสูงกว่าด อ ก เบี้ยจากธนาคารทั่วไป แถมได้รับการยกเว้ นภ าษีตามประมวลกฎหมายรัษฎากร มาตรา 42(8)(ข) และพ ระราชกฤษฎีก า ฉบับที่ 40
3. เงิ นฝากปร ะจำปล อดภาษี
เงิ นฝากประจำปลอดภาษีเป็นการฝากเงิ นรายเดื อนติ ดต่อกันมีระยะเ วลาไม่น้อยกว่า 24 เดือนนับแต่วันที่เริ่มฝาก โดยยอดเ งินฝากแต่ละครั้งต้องมีจำนวนเท่ากันทุ กเดือน
และยอดเ งินที่ฝากในแต่ละครั้ง จะต้องไม่เกิน 2. 5 หมื่นบาท/เดื อน ซึ่งรวมทั้งหมดแล้วต้องไม่เกิน 6 แสนบาท
ด อ ก เบี้ยเ งินฝากดังกล่าวได้รับยกเว้นภ าษีเงิ นได้บุคคลธรรมดา โดยสามารถเปิดได้คนละ 1 บัญชีเท่านั้น(รวมทุ กธนาคาร)
4. สล ากออ มทรัพย์จากธนาคารออมสินและธนาคารเพื่อการเกษตรและสห กรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)
สลากออมทรัพย์จัดอยู่ในเ งินฝากเผื่อเรียกเป็นการออมเงิ นที่เหมื อนการฝากเงิ นกับธนาคาร โดยผู้ซื้ อสลากนั้นจะได้รับด อกเบี้ยในอัตราที่ธนาคารกำหนด
แต่จะได้รับสิทธิประโย ชน์พิเ ศษที่มากกว่าเ งินฝา กธนาค ารทั่วไป โดยผู้ซื้อสล ากจะได้รับสิทธิในการลุ้นรางวัลทุ กเดือน หรือทุ กง วดจนกว่าจะครบกำหน ดอ ายุของสลากนั้น ๆ
ตามกฎหมายประมวลรัษฎากร มาตรา 42(8)(ก) และ(11) ที่ระบุไว้ว่า “ ด อ ก เบี้ ยสลากออมสิน ห รือ ด อ ก เบี้ ยเ งินฝากออมทรัพย์ของรัฐบาลเฉพาะประเภทฝากเผื่อเรี ยก”
และ “รางวัลบัตรออมทรัพย์ ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์กา รเกษตร” ได้รับยกเว้ นภา ษี
5. ลงทุ นในกองทุนรวมที่ ไม่มีนโยบายจ่า ยเงิ นปันผล
เงิ นได้จากการข ายหน่วยลงทุนในกองทุนรวมประเภทนี้ จะ ได้รับสิทธิย กเว้ นภาษี เนื่องจากเ งินปันผลขอ งกองทุนต่าง ๆ นั้น จะถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ 10% (มาตรา 48(3)
แห่งประมวลรัษฎากร) ไว้ แล้ว ซึ่งถือเป็นสิท ธิพิเศษสำหรับเ งินได้ประเภทนี้ ที่จะเลือกเ สียภาษีในอัตราที่ถูกไว้ ( F i n a l TAX)
โดยไม่ต้องนำไปคำนวณเป็นเ งินได้เมื่อยื่นแบบ ทั้งนี้ต้องพิจารณ าหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการลงทุนไปพร้อมกันด้วย
6. การฝากเ งินในบัญชีออ มทรัพย์โดย ด อ กเบี้ยต้องไม่เกิน 2 หมื่นบาท
เงิ นฝา กประเภทออมทรัพย์ที่จะได้รับยกเว้นไม่ต้องเ สียภาษีเงิ นได้บุคคลธรรมดาต้องเป็นออมทรัพย์ที่ไม่ใช้เช็คในการถอน ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้ อม ผ่ านระบบการหั กหรือโอนเงิ นจากบัญชีออมทรัพย์นี้
ไปยังบัญชีเงิ นฝากกระแสรายวันหรือบัญชีเงิ นฝากอื่นใ ด และจะต้องมีจำนวน ด อ ก เบี้ยรวมกันทุ กบัญชี เงิ นฝากออมทรัพ ย์ ของทุ กธนาคา รทั้งสิ้นไม่เกิน 2 หมื่นบาทตลอดปีภาษีนั้น
7. ลงทุนในกองทุนร วมโครงสร้างพื้นฐาน
กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (Inf r a s t r u c t u r e Fund) จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เฉพาะเจาะจงในการนำเ งินไปลงทุนใ นกิจการโครงสร้างพื้นฐานประเภทใด
เช่น รถไฟฟ้า เขื่ อน ถนน เป็นต้น กองทุนกำหนดให้บุคค ลธรรมดาผู้ซื้อกองทุนได้รับสิทธิยกเว้น สำหรับเงิ นปันผลที่ได้จากการลงทุนเป็นเวลา 10 ปีภาษีต่อเนื่อง
นับแต่ปีภาษีที่ มีการจดทะเบียนจัดตั้งกองทุนรวมดังกล่าว รวมทั้งกำไรที่ได้จากการขายหลักทรัพย์ ก็ได้รับสิทธิยกเว้นภ าษีเช่นกัน
ขอบคุณที่มา : ล ะ มุ น ล ะ ไ ม