1. รู้จักจัดสรร รายได้ รายได้เมื่อรับมาแล้ว จัดสรรใช้จ่าย เหลือเก็บออมและล ง ทุ น 10% – 30%
2. จดบันทึกรายรับ รายจ่าย การบันทึกจะทำให้เรารู้ว่า เราใช้จ่ายอะไรไปบ้ า ง
และรายการใดที่สามารถลดค่าใช้จ่ายลงได้ เพื่อจะได้มีเงิ นเหลือแล้วนำไปออมเพิ่มได้
3. มีบัญชีสำรอง ฉุ ก เ ฉิ น บัญชีนี้ถือว่า สำคัญเผื่อไว้ ย า ม ฉุ ก เ ฉิ น
ควรเตรียม 3 – 6 เท่าของค่าใช้จ่ายต่อเดือน
4. เก็บออมสม่ำเสมอ วินัยในการออมถือว่าเป็นสิ่งสำคัญ เมื่อมีรายได้เข้ามา
ควรเก็บออมก่อน ที่เหลือค่อยนำไปใช้จ่าย ออมเป็นประจำสม่ำเสมอทุ กเดือน
5. มีเป้าหมายทางการเ งิน การตั้งเป้าหมายทางการเ งิน จะทำให้เรารู้ว่าต้องเก็บเงิ นเท่าไหร่
ถึงจะสามารถมีเ งินได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ทั้งระยะสั้น ระยะกลาง ระยะย าว
ไม่ว่าจะเป็นการวางแผนทุนการศึกษา วางแผนเกษียณ
6. ไม่สร้างห นี้ ที่ไม่จำเป็น ห นี้สิน มีเท่าที่จำเป็น เหมาะสม
พิจารณาถึงความสามารถในการชำระ และการปลดห นี้ทุ กอย่ างก่อนเกษียณ
7. หมั่นดูแลสุ ข ภ า พ ร่ า ง ก า ย การดูแลสุ ข ภ า พ ร่ า ง ก า ย หมั่นออกกำลังกาย พักผ่ อ น ให้เพียงพอ
ใส่ใจเรื่อง อ า ห า ร การกินที่มีประโยชน์ เพื่อ สุ ข ภ าพ ที่ดี เพราะหากมีปัญหาด้าน สุ ข ภ า พ
ก็จะมีผลกระทบต่อการทำงาน ค่าใช้จ่าย ค่ารั กษา พ ย า บ า ล การดูแล สุ ข ภา พ จึงเป็นสิ่งที่สำคัญอีกข้อหนึ่ง
8. ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับการเ งิน การที่เรามีความรู้ทางการเงิ น จะช่วยให้เรามีระบบการจัดการเงิ นที่ดี
มีการวางแผนการเ งินที่ดี รวมถึงการติ ดตาม ข่ า ว ส า ร เกี่ยวกับ การเงิ น ธุรกิจ เศรษฐกิจ
เพื่อให้เรารู้ทันสถานการณ์ทางการเงิ น ซึ่งอาจมีผลกระทบกับเรา และเราก็จะสามารถเตรียมการณ์ได้ทันท่วงที
ขอบคุณที่มา : yimlamun