1. เริ่มทยอยปลดห นี้ให้หมดได้แล้ว
ไม่ว่าจะเป็นค่าผ่อนรถ ค่าบัตรเครดิต หรือแม้แต่ค่าผ่อนสินค้า 0% ต่าง ๆ
นั่นเพราะยิ่งปลดห นี้เร็วเท่าไหร่ เราก็สามารถนำเงิ นไปต่อยอดได้มากขึ้นเท่านั้น
และถ้ายังไม่แน่ใจว่าจะปลดห นี้ยังไงดี แนะนำให้เริ่มจากดูว่า
เรามีห นี้ทั้งหมดกี่ราย จำนวนเงิ นที่เป็นห นี้ของแต่ละราย และอัตราด อกเบี้ย
จากนั้นให้จัดลำดับห นี้ โดยให้ห นี้ที่มีอัตราด อกเบี้ยสูงสุดอยู่ด้านบน
และเริ่มต้นปลดห นี้จากก้อนนั้นก่อน แล้วค่อย ๆ ทยอยปิดห นี้ก้อนอื่น ๆ ต่อไปจนหมดครับ
2. รู้ตัวเองก่อนว่า มีอะไรมากกว่ากัน ระหว่าง “ทรัพย์สิน” กับ “ห นี้สิน”
หากว่าเพื่อน ๆ มีรายได้เดือนนึงหลายหมื่น แต่กลับมีรายจ่ายสูงพอ ๆ กับรายรับ
สิ่งที่ควรใส่ใจอย่ างแรกเลย คือ ลิสต์รายการของทรัพย์สิน เพื่อเปรียบเทียบกับห นี้สินที่มีทั้งหมด
และถ้าหากมานั่งงงว่า เฮ้ย เราก็มีสินทรัพย์เยอะนะ มือถือรุ่นใหม่ ๆ กล้องถ่ายรูปแพง ๆ ฯลฯ
แต่ทำไมยังจนอยู่ มีแต่ห นี้สิน คิดง่าย ๆ เลยครับ มือถือ จำนวน 1 เครื่อง ราคาประมาณ 25,000 – 30,000 บาท
แต่ราคาขายต่อ มูลค่ามันหายไปแทบจะครึ่งนึงแล้วครับ แค่นี้ก็พอจะมองออกแล้วใช่มั้ยว่า
เพื่อน ๆ ต้องเริ่มกลับมาวางแผนการเงิ นให้ตัวเองได้แล้ว
เริ่มต้นง่าย ๆ ที่เริ่มสะสมทรัพย์สิน ที่ก่อให้เกิดรายได้ เช่น หุ้น กองทุนรวม เป็นต้น
3. บริหารความเ สี่ยงให้เป็น
การมีสติช่วยให้เราผ่ านทุ กปัญหาได้ เพราะสิ่งที่เราจะพูดต่อไปนี้
คือเรื่องของความเ สี่ยงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ไม่ว่าคุณจะโสดหรือไม่ก็ตาม
ความเสี่ ยงที่ควรพิจารณามี 3 ด้านคือ
3.1) ความเ สี่ยงด้านชีวิตและสุ ขภาพ
เริ่มจากการคิดว่า หากเราเจ็ บป่ วยหรือเกิดเห ตุไม่คาดคิด ครอบครัวจะต้องลำบาก
เพราะข าดกำลังสำคัญรึเปล่า ? หากคำตอบคือใช่ เราลองบริหารความเ สี่ยงโดยการซื้อประกันดีมั้ย ?
3.2) ความเ สี่ยงด้านทรัพย์สิน
นั่นก็คือหากเราหยุดทำงาน (ไม่ว่าจะลาออกหรือไม่อย ากลาออกก็ตาม) เรามีความพร้อมรึยัง ?
หากไม่มี สิ่งแรกที่ควรทำคือสำรองเงิ นฉุกเฉิน ประมาณ 6 เดือน ของรายจ่ายเอาไว้ก่อน
3.3) ความเ สี่ยงในการดำเนินชีวิต
เช่น หากวันหนึ่งเพื่อน ๆ ขับรถแล้วเกิดอุบั ติเหตุ เรามีประกันภั ยรถยนต์รึเปล่า ?
ถ้าไม่มีจะซื้อมั้ย ? ซื้อประกันแบบไหนดี ?
4. สร้างงบการเ งินในแบบของตัวเองได้แล้ว
แม้เพื่อน ๆ จะหาเงิ นได้มากแค่ไหน แต่หากบริหารเ งินไม่ดี
เ งินที่ได้มาก็จะหายไปง่าย ๆ เรียกว่า “ร วยเดย์ ร วยกันแค่วันสิ้นเดือน”
ดังนั้น สิ่งที่เพื่อน ๆ ต้องให้ความสนใจในลำดับถัดมา คือการสร้างงบรายจ่าย หากไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นยังไง
ให้เริ่มต้นจากงบการเ งิน 50-30-20 ดูครับ (สิ่งจำเป็น, สิ่งที่อย ากได้, ออมฉุ กเฉิน)
5. ศึกษาเรื่องภาษีได้แล้ว
ยิ่งรายได้มาก ก็อย่ าลืมว่าภาษีต้องเพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว เพราะถือเป็นกฎหมายที่ทุ กคนในชาติต้องปฏิบัติตาม
สิ่งที่เพื่อน ๆ ควรศึกษาคือกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาษี ไม่ว่าจะเป็นการลดหย่อน หรือการละเว้นใด ๆ ก็ตาม
6. วางแผนเกษียณหรือยัง
“แ ก่ไม่ว่า แต่อย่ าแ ก่แบบไม่มีเ งินครับ” ที่บอกแบบนี้เพราะอย ากให้วางแผนเกษียณกันไว ๆ
ยิ่งวางเร็วยิ่งดี ดังนั้น การเริ่มต้นตั้งแต่วันนี้ ก็เพื่อผลประโยชน์สำหรับเราเองครับ ไม่ต้องลำบากลูกหลาน
7. คุณต้องมีเงิ นสำรองฉุ กเฉินอย่ างน้อย 6 เดือน
คิดจาก (รายจ่ายปกติต่อเดือน x 6 เดือน = เงิ นสำรองฉุ กเฉินที่ควรมี)
เงิ นจำนวนนี้จะช่วยให้เราสามารถรับมือกับปัญหาด้านการเ งินได้ โดยไม่ต้องกู้ยืมเ งินคนอื่น
เพราะการกู้ยืมเ งิน อาจจะทำให้เรากลับเข้าไปอยู่ในวงจรห นี้อีกครั้ง
ที่มา : a o m m o n e y
ขอบคุณ : f e e l i n g d d