จะมีสักกี่คนที่อายุมากแล้วยังสดชื่น เบิกบานทั้งกายใจ
อย่ างที่ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ดำเนินชีวิตอยู่ในเวลานี้
นอกจากชีวิตนี้จะไม่เคยมีคำว่า “เกษียณ” อุทิศตัวทำงานอาทิตย์ละ 7 วัน แล้ว
ในวันนี้ของ ดร.สุเมธ ยังคงแอคทีฟ กระฉับกระเฉง แถมยังเดินป่าไหว
จนหลาย ๆ คนอดถามไม่ได้ ถึงเคล็ดลับการใช้ชีวิต
และนี่คือ 12 เคล็ดลับดี ๆ ของการ
“แ ก่อย่ างมีคุณภาพ ชราอย่ างมีสุข” จาก ดร.สุเมธ
1. ใช้ชีวิตอย่ างมีสติ
ไม่ว่าจะเป็นการมีสติในการกิน แทนที่จะกินตามใจปาก สนองความอย ากของตัวเอง
แล้วต้องให้หมอจ่ายย าลดไขมัน ลดน้ำตาล
ทำไมเราไม่ลองหันมาลดที่ “ปาก” ของตัวเอง
ด้วยการใช้สติในการพิจารณา อย่ างมีเหตุมีผลทุ กครั้งในการกิน
2. ฝึกการให้โดยไม่หวังผลตอบแทน ด้วยหลัก “ทาน”
เกษียณแล้ว อย่ าเอาแต่อยู่บ้านเฉย ๆ แต่ให้พย าย ามหาเรื่องช่วยคนโน้นคนนี้
เท่าที่ร่า งกายของเราจะทำได้ รัก ษาร่า งกายให้แข็ งแรง เพื่อทำประโยชน์ให้แ ก่ผู้อื่น
3. อยู่อย่ างสง่า ต ายอย่ างสงบ
ตอนมีชีวิตอยู่ต้องมีความสง่างามในตัวเอง ทุ กอย่ างต้องช่วยเหลือตัวเองได้
ใครเห็นก็ให้ความเคารพนับถือ และเมื่อถึงเวลาต าย ก็ต ายอย่ างสงบ
อย่ าไปกลัวความต าย จะยิ่งใหญ่แค่ไหนเมื่อต ายแล้ว
เกียรติยศ เงิ นท อง สะสมไว้แค่ไหน ก็ต้องส่งคืนหมด
สิ่งเดียวที่เหลือไว้ คือ ความเป็นตัวตนของเรา
ถ้าประกอบคุณงามความดีไว้ คนก็ยังนึกถึง
แต่ถ้าประกอบความชั่ วไว้มาก คนก็ยังด่าทอไปจนถึงลูกหลาน
4. อักโกธะ หรือความไม่โกรธ
เป็นอีกหลักข้อหนึ่งในทศ พิธราชธรรม เพราะเมื่อโกรธแล้วมักจะเสี ยหาย
หากคุมอ ารมณ์ไม่อยู่ในเรื่องไร้ส าระ เมื่อไหร่ก็ตามที่มีเรื่องมากระทบใจ
แค่ลองพลิกอ ารมณ์ มองให้เห็นเป็นเรื่องสนุก ๆ เท่านี้ทุ กอย่ างก็จบ
5. รั กษากายและจิต
ผู้สูงอายุต้องรัก ษากายให้ดี เพราะเงิ นท องไม่มีประโยชน์
เอาแค่พอเพียงต่อชีวิตความเป็นอยู่ ที่เหลือเป็นส่วนเกินที่เราไม่ได้ใช้
เรื่องจิต ก็สำคัญเช่นกัน ต้องโปร่งใส อย่ าไปขุ่นมัวโดยที่ไร้ประโยชน์
คำนึงไว้ว่า เวลาอยู่ในโลกนี้สั้นแล้ว ดังนั้น อย่ าเสี ยเวลาเป็นทุ กข์
แต่ให้เก็บเกี่ยวความสุข จนนาทีสุดท้าย
6. ใช้ชีวิตโดยรัก ษาความเป็นธรรมดาเอาไว้
อย่ ายึดติ ดยศถาบรรดาศักดิ์ แต่ให้ใช้ชีวิตอยู่อย่ างธรรมดา เรียบง่าย
เพราะจะยิ่งใหญ่มาจากไหน เกษียณแล้วทุ กอย่ างสูงสุดคืนสู่สามัญ
ไม่ต้องเป็นวีไอพีหรอก เพราะจะเป็นวีไอผ ีอยู่แล้ว
7. อย่ าลืมเอาจิตไปพักผ่อนบ้าง
หลายคนเมื่อเกษียณแล้ว มักใช้เวลาหาแต่ความสุขทางกาย
พากายไปเที่ยว ไปพักผ่อน ไปสูดอากาศ ไปกินอาหารดี ๆ
แต่กลับละเลยไม่คิดที่จะเอาจิตไปพักผ่อน
ทั้งที่กายกับจิตนั้นสัมพันธ์และมีอิทธิพลต่อกัน
ดร.สุเมธ บอกว่า โดยส่วนตัวทุ กครั้งที่มีจังหวะได้พักผ่อนเว้นวรรคชีวิตนาน ๆ
จึงมักถือโอกาสเอาจิตไปพักด้วยการบวช ครั้งล่าสุดบวชตอนอายุ 65 ปี
เป็นพ ระสายวัดป่าอยู่ที่สกลนคร
8. น้อมนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิต โดยมี “เหตุผล” เป็นเครื่องนำทาง
เหตุผลเป็นผลผลิตของปัญญา ดังนั้น จึงต้องรัก ษาศีลเสี ยก่อน และมีสติ สมาธิ
ผลสุดท้ายจะทำให้เกิดการพิจารณา โดยใช้ปัญญาเป็นที่ตั้ง
เมื่อดำเนินทุ กอย่ างด้วยเหตุด้วยผล ก็จะเกิดความพอเพียง
9. ฝึกระลึกถึง “มรณานุสติ”
ใคร ๆ ก็ต ายได้ ไม่ว่าใครก็ต้องเจอความต ายเท่าเทียมกันหมดทุ กคน
เมื่อมองเห็นความต ายเป็นเรื่องธรรมดา จะทำให้เรานิ่งกับความต าย
10. ยึดถือคำว่า “ประโยชน์สุข” เป็นเป้าหมายของชีวิต
อะไรไม่มีประโยชน์อย่ าทำ อย่ าคิดทำ ให้ทำแต่สิ่งที่มีประโยชน์
ผลสุดท้ายสิ่งที่เราจะได้รับ คือความสุข
11. อวิโรธนะ
คือ การดำรงอยู่ในความถูกต้องเสมอ เป็นหลักทศ พิธราชธรรมที่ต้องรัก ษาให้มั่น
หากปฏิบัติตาม ร.9 โดยยึดหลักธรรมะที่ต้องมีทั้งสองอย่ าง คือทั้งความดีและความถูกต้อง
เพราะบางอย่ างดี แต่ไม่ถูกต้อง บางอย่ างถูกต้อง แต่ไม่ดี
การกระทำของเราต้องตรวจสอบอยู่ตลอดเวลา เป็นธรรมหรือเปล่า
นั่นคือ ดีและถูกต้องหรือเปล่า
12. อย่ าหยุดทำงาน
เกษียณแล้ว อย่ าเอาแต่นั่ง ๆ นอน ๆ เพราะเมื่อไหร่ที่เราหยุดทำงาน
ร่า งกายของเราก็จะหยุดตามลงไปด้วย เหมือนรถที่จอดเฉย ๆ สตาร์ตไม่ติ ด
ร.9 ทรงมีรับสั่งว่า อย่ าหยุดด้วยจิต และกายก็อย่ าหยุดด้วย
ทำให้ ดร.สุเมธ ยังคงทำงานทุ กวัน ส่งผลให้แข็ งแรงจนถึงวันนี้
13. ร่าเริง รื่นเริง คึกคัก ครึกครื้น
คาถาที่ว่านี้ ร.9 ทรงรับสั่งเสมอ เพราะจิตเป็นเรื่องสำคัญ
ต้องมีอ ารมณ์ขันอยู่ตลอดเวลา มองเห็นทุ กอย่ างเป็นเรื่องสนุก
จึงจะสามารถทำงานได้สำเร็จ รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
เมื่อตัวเราร่าเริง ยิ้มแย้มแจ่มใส บรรย ากาศรอบตัว
คนรอบข้างที่อยู่กับเรา ก็รื่นเริงไปด้วย
ขอบคุณที่มา : ธ ร ร ม ะ ส วั ส ดี