Home เรื่องน่ารู้ ลักษณะหัวหน้าที่ดี ทำให้ลูกน้องมีคุณภาพ

ลักษณะหัวหน้าที่ดี ทำให้ลูกน้องมีคุณภาพ

6 second read
ปิดความเห็น บน ลักษณะหัวหน้าที่ดี ทำให้ลูกน้องมีคุณภาพ
0
228

1. มีการการติ ดตามงาน

ตอนนี้คุณมีผู้ใต้บังคับบัญช า ที่ต้องรับผิดชอบ แล้วการที่คุณมัวแต่ก้มหน้า ก้มตาทำงานหนัก

เพื่อทำงานของตัวเองให้เสร็จ เหมือนเมื่อก่อน คงจะไม่เพียงพออีกต่อไป อย่ าลืมว่า

หน้าที่คุณนั้นเปรียบเสมือนกัปตันเรือ ที่ต้องรับผิดชอบลูกเรืออีกหลายชีวิต

คุณไม่จำเป็นต้องออกแรงพาย แต่คุณจะต้องรู้ว่า หางเสือต้องหันไปในทิศทางไหน

ใครมีหน้าที่ต้องทำอะไรบ้าง และต้องใช้ความเร็วเท่าไหร่ เพื่อที่จะไปถึงจุดหมายได้

ในระยะเวลาที่กำหนด นอ กจากคุณจะต้องคอยดูแล การทำงานของผู้ใต้บังคับบัญช าในภาพรวม

แล้วคุณยังต้องหมั่น มองไปข้างหน้าอีกด้วย ว่ามีอุปสรรคหรือไม่

เพื่อที่คุณจะได้วางแผน รับมือ กับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่ างทันท่วงที

 

2. ต้องเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของการเป็นหัวหน้างาน

การได้รับตำแหน่งหัวหน้างาน ถือเป็นบทบาทใหม่ที่คุณไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อน

ซึ่งคุณก็อาจจะยังไม่แน่ใจ ในบทบาทตัวเองสักเท่าไหร่ มีหน้าที่อะไรบ้างที่เพิ่มขึ้นมา

อำนาจการตัดสินใจ มีมากแค่ไหน รวมถึงความคาดหวัง จากผู้บริหารมีอะไรบ้าง

ซึ่งวิ ธีที่ดีที่สุด คือ การคุยกับผู้บริหารโดยตรงว่า ขอบเขต การทำงานของคุณอยู่ตรงไหน

มีเรื่องใดบ้างที่ต้องให้ผู้บริหารตัดสินใจ สอบถามให้ชัดเจนว่ามีเป้าหมายใดที่คุณจะต้องทำให้สำเร็จ

ในระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งเป้าหมายที่ชัดจะช่วยให้คุณเห็นภาพว่า

ต้องทำอะไรหลังจากนั้น การวางแผนก็จะเป็นเรื่องง่าย

 

3. มีวิ ธีในการสร้างแรงจูงใจให้กับผู้อื่น

บางครั้งต่อให้คุณมีผู้ใต้บังคับบัญช าที่เก่ง แต่ก็ไม่ได้หมายความว่างานทุ กอย่ างจะสำเร็จได้ด้วยดี

เพราะตัวแปรสำคัญอีกเรื่องหนึ่ง ก็คือนิสัยใจคอของแต่ละคน ซึ่งอย่ างแรกเลย คุณจะต้องเข้าใจก่อนว่า

คน มีความแต กต่างกันทั้งในเรื่องสไตล์ การทำงานนิสัยส่วนตัว ซึ่งคุณไม่สามารถที่จะไปเปลี่ยนแปลงเรื่องนี้ได้

สำคัญเพียงแค่ว่า คุณจะทำอย่ างไร ให้พวกเขาทำงานร่วมกันได้ดี โดยอาจจะจัดให้มีการประชุมทีมขึ้น

เพื่ออธิบายถึงบทบาทหน้าที่ใหม่ของคุณ ชี้ชัดให้ทุ กคนเห็นถึงเป้าหมายเดียวกัน

และเน้นย้ำว่าเป้าหมายจะสำเร็จได้ ต้องมาจากความร่วมมือ กันของทุ กคน

หลังจากนั้นหาเวลาพูดคุย เป็นการส่วนตัวกับผู้ใต้บังคับบัญช า เพื่อสอบถามถึงปัญหาที่พบในการทำงาน

หรือความไม่สบายใจต่าง ๆ เพื่อที่จะปรับแก้และหาวิ ธีที่ลงตัวที่สุด

 

4. มีการการกระจายงานและมอบหมายงานให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา

หล ายคนเมื่อเข้ามารับตำแหน่งใหม่ ก็มักจะปล่อยให้ผู้ใต้บังคับบัญช าทำในสิ่งที่เคยทำ

โดยไม่ได้พิจารณาว่า แต่ละคนนั้นทำในสิ่งที่ตัวเองถนัดจริงหรือไม่ ซึ่งในขั้นตอนนี้

คุณควรแบ่งเวลา เพื่อศึกษาผู้ใต้บังคับบัญช าของคุณ ในแต่ละคนว่า มีทักษะด้านไหนบ้าง

จุดแข็งจุดอ่อน และสไตล์การทำงานของแต่ละคน เป็นอย่ างไร หาโอกาสคุย

เพื่อสอบถามความคิดเห็น และวางแผนการทำงานร่วมกัน ซึ่งนอกจากคุณจะได้คนที่เหมาะกับงานที่สุดแล้ว

คุณอาจจะเจอความสามารถพิเศษบางอย่ าง ที่หลบซ่อนอยู่ในตัวของผู้ใต้บังคับบัญช าของคุณก็ได้

เพราะบางคน เสี ยเวลาทำสิ่งที่ไม่ถนัดมาทั้งชีวิต แต่พอได้เปลี่ยนไปทำในสิ่งที่ชอบ ก็อาจจะทำผลงานได้ดีอย่ างไม่น่าเชื่อ

 

5. ต้องมีภาวะความเป็นผู้นำ

การที่ผู้บริหารเลือกคุณขึ้น มาเป็นหัวหน้า นั่นแสดงว่าเขาเห็นแววการเป็นผู้นำในตัวคุณอยู่แล้ว

แต่หลายครั้งหัวหน้างานใหม่ ก็ยังเข้าใจผิดคิดว่า หน้าที่หลักของหัวหน้าคือ การสั่งงาน ควบคุมงานให้เสร็จ

โดยที่ความคิดของหัวหน้า ต้องเป็นใหญ่ที่สุด อย่ าลืมว่าคุณยังไม่ได้สร้างผลงาน หรือมีการแสดงออกให้ทุ กคนยอมรับ

ไม่ใช่เอาแต่สั่งงานอย่ างเดียว จริง ๆ แล้วภาวะผู้นำสามารถแสดงออกผ่ านการกระทำได้หลายรูปแบบ

ไม่ว่าจากการวางตัว เป็นแบบอย่ างที่ดีให้ลูกทีม เห็นเป็นโค้ชที่คอยสอนงาน เป็นที่ปรึกษาที่ช่วยให้คำแนะนำ

และเป็นเพื่อนที่ร่วมงานสังสรรค์กันบ้าง ในบางเวลา และควรเตรียมพร้อม และเปิดใจรับฟังปัญหาจากลูกน้องอย่ างทั่วถึงเสมอ

ประพฤติกับลูกน้องให้เปรียบเสมือน ‘ลูกค้า’ ที่ให้คุณเป็นที่ปรึกษา เพื่อช่วยแก้ปัญหาให้กับพวกเขา

นำเสนอวิ ธีแก้ปัญหาอย่ างจริงใจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล็กหรือเรื่องใหญ่ สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้คุณได้รับการนับถือมากขึ้น

รวมถึงในบางครั้งการเป็นตัวกลางเพื่อช่วยสื่อส าร และรับแรงเสี ยดทานในเรื่องการบริหารงาน จะทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชา

กล้าที่จะพูดถึงปัญหามากขึ้น ทำให้คุณรับรู้และช่วยดันเรื่อง ให้ผู้บริหารดำเนินงานให้กับคุณได้รวดเร็วมากขึ้น

 

6. มีทักษะในการประเมินผลงานและการให้คำแนะนำต่อผู้ใต้บังคับบัญชา

คุณควรกำหนดการ ทำงานให้กับผู้ใต้บังคับบัญชาทุ กคน ตามตำแหน่งมีกิจกร รมที่วัดผลงานให้กับพวกเขาอย่ างชัดเจน

เช่น งานผลิตคุณต้องกำหนดกิจกร รม ที่วัดผลได้ ให้กับพวกเขา เช่น ผลิตงานได้ชั่ วโมงละกี่ชิ้น

ทำใบนัดส่งสินค้า ได้วันละกี่ใบเป็นต้น และอย่ าใช้อคติกับผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นอันข าด

เพราะการทำงานที่เป็น Team Work จะค่อย ๆ หายลงไป ในไม่ช้า กรณีเช่น คุณชอบลูกน้องคนนี้

จึงมอบหมายงานให้กับคนนี้เพียงคนเดียว แต่กับอีกคนคุณจึงไม่กำหนดงานอะไรทำให้เขาไม่มีผลงาน

และการประเมินงานที่ดีที่สุด คือ การจัดประชุมเพื่อตรวจเช็คการทำงานอย่ างสม่ำเสมอ

รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญช า แสดงความคิดเห็น หรือเสนอแนวทางการแก้ปัญหาใหม่ ๆ

และกำหนดวินัยให้กับทีมในการส่งรายงานการทำงาน ( Report ) เพื่อให้คุณสามารถ

ใช้เวลาตรวจสอบการทำงานของผู้ใต้บังคับบัญชาได้อย่ างทั่วถึง และเป็นธรรมกับทุ กคน

 

ขอบคุณที่มา : deesudjai

Load More Related Articles
Load More By erz
Load More In เรื่องน่ารู้
Comments are closed.

Check Also

ตัวเราก็มีค่า ในแบบตัวเรา

เมื่อชีวิตต้องพบ กับความผิดหวัง แพ้พ่าย เสี ยใจ การมีใค … …