1. แม่เหล็ก
ถ้าใช้แม่เหล็กแล้วดูดติ ดทันที ท องเส้นนั้นเป็นทอ งปลอมแน่นอน
เพราะใส่เหล็กในปริมาณมาก แต่ถ้าเป็นท องคำแท้แม่เหล็กจะดูดไม่ติ ด
2. ทดสอบโดยการกัด
ท องคำแท้จะมีความแข็งไม่มาก ถ้ากัดก็จะเกิดรอยบุ๋มเห็นได้ชัด
แต่ถ้าเป็นท องปลอม ท องผสมเหล็กหรือท องแดง หรือท องชุบ
จะแข็งมาก กัดแล้วไม่เกิดรอยบุ๋ม
3. ดูจากขนาดของท อง
วิ ธีนี้ต้องใช้การสังเกตให้ดี ต้องรู้ว่าท องคำหนัก 1 บาท หรือ 2 บาทนั้น
ควรมีขนาดแค่ไหน น้ำหนักกับขนาดต้องสอดคล้องกัน ถ้าบอกหนัก 1 บาท
แต่มีขนาดใหญ่มากก็ให้ระวั งไว้เลยว่าอาจเป็นทอ งปลอมได้
4. การชั่งน้ำหนัก
วิ ธีนี้ถ้าไม่มีเครื่องชั่งก็ต้องมีท องคำแท้อีกชิ้นหนึ่งไว้เทียบกัน เพราะท องคำแท้
ไม่ว่าจะเส้นใหญ่หรือเส้นเล็ก ถ้าน้ำหนัก 1 บาท ก็จะมีน้ำหนักเท่ากันเสมอ
น้ำหนักของท องรูปพรรณความบริสุทธิ์ 96.5% ( 23k ) แต่ละขนาดเอาไว้
โดยคุณสามารถทดสอบได้ผ่ านน้ำหนักมาตรฐานดังนี้
ท องครึ่งสลึง หนัก 1.89 – 1.9 กรัม
ท อง 1 สลึง หนัก 3.79 – 3.8 กรัม
ท อง 2 สลึง หนัก 7.58 – 7.6 กรัม
ท อง 3 สลึง หนัก 11.37 – 11.4 กรัม
ท อง 1 บาท หนัก 15.16 – 15.2 กรัม
ท อง 2 บาท หนัก 30.32 – 30.4 กรัม
5. การสำรวจตราประทับ
ใช้แว่นขย ายส่องดูต ามข้อหรือห่วงของท อง ท องแท้ทั่วไป
จะมีการตีตราร้านไว้อย่ างชัดเจนเพื่อเป็นการการันตี บอกแหล่งที่มา
หรือมีการตอกตัวเลขบอกความบริสุทธิ์ของท องไว้ด้วย
เช่น 14k, 18k, 22k, 24k ถ้าตรานั้นเบลอ ๆ ไม่ชัดเจน
ก็ให้ระวั งไว้ก่อนว่าอาจเป็นของปลอมให้หลีกเลี่ยงการซื้อ
6. หยดด้วยน้ำกรดไนตริก
ท องคำแท้เมื่อหยดด้วยกรดไนตริก จะไม่เกิดปฏิกิริย า ไม่เปลี่ยนสี หรือหลอมละลาย
แต่ถ้าท องคำนั้น มีโลหะอื่นผสม เช่น ท องแดง ก็จะละลายไปอย่ างเห็นได้ชัดเจน
วิ ธีนี้คงต้องทำที่ร้านท องเพราะกรดไนตริก หาซื้อไม่ได้ตามร้านค้าทั่วไป
7. ดูจากรอยต่อหรือจุดที่ท องเสี ยดสีกัน
วิ ธีนี้สามารถใช้แว่นขย ายดูตามรอยต่อหรือจุดเสี ยดสี
ถ้าเป็นท องคำแท้จะไม่มีรอยถลอกลอกหรือเปลี่ยนสี
แต่ถ้าเป็นท องคำชุบหรือท องปลอม
ตามรอยต่อเหล่านี้จะเกิดการลอกหรือถลอก
8. โยนลงบนกระจก
ท องคำเป็นโลหะที่มีเนื้ อนุ่ม ไม่แข็งเหมือนเหล็กหรือท องแดง
ถ้าโยนไปกระทบกับกระจกจะได้ยินเสี ยงกระทบกันแบบนุ่ม ๆ ไม่มีเสี ยงแหลม ดัง
แต่ถ้าเป็นท องปลอมเสี ยงจะดังแก๊ง ๆ อย่ างชัดเจน
ขอบคุณที่มา : rooormai