1. เชื่อใจลูกน้องและมองเห็นศักยภาพ
เมื่อหัวหน้ามองว่าลูกน้องมีศักยภาพและเชื่อใจลูกน้อง ทำให้ลูกน้องทำงานได้อย่ างอิสระ
และสามารถนำความคิดสร้างสรรค์ของตนมาสร้างผลงานได้อย่ างเต็มที่
แต่หากหัวหน้าไม่เห็นศักยภาพ หัวหน้าก็จะไม่ไว้ใจ
คอยสั่งตามที่ตัวเองต้องการและไม่ให้ลูกน้องได้มีโอกาสนำเสนอความคิดเห็น
2. พูดแล้วรั กษาสัจจะ ไม่เปลี่ยนไปเปลี่ยนมา
เราคงเคยได้ยินว่าคำพูดเป็นนายเรา เมื่อพูดออกไปแล้ว ให้เราทำตามสิ่งที่เราพูด
ถ้ามีความจำเป็นต้องเปลี่ยนไปจากที่พูด นาน ๆ เปลี่ยนคงไม่เป็นไร แต่หากเปลี่ยนบ่อย ๆ
ลูกน้องจะข าดความเชื่อมั่นและความไว้วางใจต่อหัวหน้า และกังวลว่า
ทำไปเดี๋ยวหัวหน้าก็เปลี่ยนใจ ให้แก้ใหม่อีก ทำให้ลูกน้องข าดความกระตือรือร้นในการทำงานได้ค่ะ
3. มีความเห็นอกเห็นใจและใส่ใจผู้อื่น
หากลูกน้องประสบปัญหาชีวิต เช่น สูญเสี ยคนที่เป็นที่รัก หรือคนที่เขารักป่ ว ย
หรือเขาป่ ว ย หากหัวหน้าไม่เคยถามไถ่ด้วยความใส่ใจ เช่น เป็นอย่ างไรบ้ าง รู้สึกอย่ างไร
อย ากให้พี่ช่วยอะไรบ้ าง เป็นต้น แล้วเข้ามาคุยแต่เรื่องงาน ก็อาจทำให้ลูกน้องรู้สึกว่า
หัวหน้าไม่ใส่ใจเขาในฐานะคนๆ หนึ่ง ลูกน้องก็จะหมดใจที่จะทำงานให้ค่ะ
4. กล้าตัดสินใจ
บางกรณีลูกน้องเข้ามาของคำแนะนำหรือให้หัวหน้าตัดสินใจ หากหัวหน้าตัดสินใจไม่ได้
ก็จะทำให้ลูกน้องไม่สามารถทำงานต่อได้ งานไม่คืบหน้า ลูกน้องก็จะเริ่มท้อใจ
และเบื่อว่างานไม่คืบหน้าและงานไม่สำเร็จเสี ยที
5. มองภาพใหญ่ ไม่ micro-manage
หัวหน้าที่ดีควรมีความสามารถในการมองภาพใหญ่กว่าลูกน้อง เห็นว่าสิ่งที่ทำส่งผลดีอย่ างไร
ต่อภาพรวม และมองเห็นโอกาสในการทำสิ่งนั้น ๆ ให้ใหญ่ขึ้น และไม่ micro-manage เกินไป
จนลูกน้องต้องเอามาให้ดูทีละขั้นตอน แล้วพอเจ้านาย approve แล้วค่อยทำต่อ เพราะถ้า micro-manage เกินไป
ลูกน้องจะอึดอัดและทำงานไม่เสร็จเสี ยที ลูกน้องจะ burn out (หมดแรงกายแรงใจ) ได้ค่ะ
ขอบคุณที่มา : jingjai999