Home เรื่องน่ารู้ หากเจ้าของบัญชีจากไป ทำไงกับเงิ นในบัญชี

หากเจ้าของบัญชีจากไป ทำไงกับเงิ นในบัญชี

20 second read
ปิดความเห็น บน หากเจ้าของบัญชีจากไป ทำไงกับเงิ นในบัญชี
8
32,099

เรียกได้ว่าบางคนอาจจะไม่รู้ว่าจะทำอย่ างไร โดยตามที่กฎหมายได้กำหนดแล้ว

ผู้ที่สามารถติ ดต่อขอปิดบั ญ ชี ได้คือ “ผู้จัดการมsดก”ตามที่พินัยกsรมsะบุไว้

แต่หากไม่มีพินัยกsรมหรือไม่ได้sะบุชื่อในพินัยกsรม ทา ย า ท

จะต้องทำเรื่องร้องขอให้ ศ า ล แต่งตั้งผู้จัดการมsดกเสี ยก่อน

ซึ่งใช้เวลาประมาณ หนึ่งถึงสองเดือน หลังจากนั้นผู้จัดการมsดก

ก็จะสามารถติ ดต่อสถาบันการเ งิ นเพื่อปิดบั ญชีได้

 

โดยบทความหนึ่งเป็นของสมาชิกผู้ใช้พันทิป ชื่อพ่อขวัญเอยเล่าว่าประสบการณ์ปิดบั ญชี

ของผู้ล่ ว ง ลั บกับธนาคาร หลังจากได้รับแต่งตั้งเป็นผู้จัดการมsดกเพื่อจะได้นำเงิ น

มาจัดการแบ่งให้ทา ย า ท ผมวิ่งรอกไปมากับธนาคารหลายครั้งเพื่อปิดบั ญ ชี

จนต้องขอเอกสาsจากธนาคารว่า ต้องใช้หลักฐานอะไรบ้าง ซึ่งทางเจ้าหน้าที่ สนง.

บอกว่าให้ไม่ได้ ผมไม่เข้าใจเหมือนกันว่าทำไม เพsาะเป็นเรื่องที่ลูกค้า

น่าจะรู้ก่อนมาติ ดต่อกับธนาคารแต่โ ช คดีที่คุยกับผู้จัดการสาขาเข้าใจ

เลยอย ากนำมาแชร์ให้ทุ กคนได้รู้กันครับว่า ต้องเตรียมหลักฐานอะไรบ้างถ้าต้องปิดบั ญ ชี

ของผู้ล่วงลับกับธนาคาร เอกสา รประกอบการขอรับม ร ด กเงิ นฝากของผู้วายชนม์ธนาคาร

 

– กรณีมีคำสั่งศ า ลแต่งตั้งผู้จัดการม ร ด กมาแสดง

1. สำเนาคำสั่งศ า ลแต่งตั้งผู้จัดการมsดก

2. สำเนาหนังสือ รับรองคดีถึงที่สุ ด

3. สำเนาใบม ร ณะบัตร

4. สำเนาบัตรประจำตัวปชช. ของผู้จัดการ ม ร ด ก

(หรือสำเนา Passport กsณีผู้จัดการม ร ด กเป็นชาวต่างชาติ)

5. หนังสือทาย าทขอรับม ร ด ก (E05093-4-12)

6. ใบรับเงิ น

7. สมุดเงิ น ฝากทุ กประเภทของผู้วายชนม์ (ถ้ามี)

หมายเหตุ : หนังสือรับรองคดีถึงที่สุ ด จะขอจากศ า ลได้

หลังจากคำสั่งศ า ลแต่งตั้งผู้จัดการม ร ด กแล้ว 30 วัน

รายการ 5 และ 6 ทางธนาคารมีให้ก ร อ ก (ต้องนำเอกสาsตัวจริงไปแสดงด้วยนะ)

 

– กรณีไม่มีคำสั่งศ า ลแต่งตั้งผู้จัดการม ร ด กมาแสดง

1. สำเนาใบม ร ณะบัตร

2. สำเนาบัตรประจำตัวปชช.

และสำเนาทะเบียนบ้านของทาย าททุ กคนผู้มาขอรับเงิ น

3. หนังสือทาย า ทขอรับม ร ด ก (E05093-4-12)

4. หนังสือสัญญาค้ำป ร ะกัน

5. สำเนาบัตรประจำตัวปชช. และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ค้ำป ร ะ กัน

6. หนังสือยินย อ มจากคู่สมรสของผู้ค้ำป ร ะ กัน (ในกรณีที่ผู้ค้ำป ร ะ กันสมรสแล้ว)

7. ใบรับเงิ น

8. ใบสำคัญ การจดทะเบียนสมรสของผู้วายชนม์ (ถ้ามี)

9. สมุดเงิ น ฝากทุ กประเภท ของผู้วายชนม์ (ถ้ามี)

 

จะเห็นว่าเอกส ารที่ธนาคารต้องการมีเยอะมาก ๆ ปกป้องเรื่องยุ่ง ๆ

ที่ธนาคารอาจจะต้องเจอภายหลังอย่ างเต็มที่ โดยสรุปแล้วขอแนะนำว่า

วิ ธีการที่ดีที่สุ ด คือ การทำพินัยกsรมไว้ก่อน เพื่อจะได้ไม่ต้องเป็นภาระของทาย าท

ในการดำเนินการภายหลัง ซึ่งการทำพินัยกsรมนั้น ไม่ได้หมายความว่า

เป็นการแช่งตัวเอง แต่หากมองตามหลักเหตุและผลการทำพินัยกsรมนั้น

ถือเป็นการวางแผนการ เ งิ น ที่รอบคอบมากกว่า ​

 

ปล. ข้อมูลจากผุ้เล่าเรื่องและเพิ่มเติมเนื้ อหาบางส่วนเพื่อความเข้าใจมากขึ้น

หากผิ ดพลาดประการใดขออภั ยไว้ ณ โอกาสนี้ศึกษาไว้เป็นกรณีเผื่อตัดสินใจ

ส่วนหากต้องการดำเนินการจริง ๆ โปรดติ ดต่อธ น า ค า รด้วยตนเองครับ

 

ขอบคุณที่มา : kiddeepost

Load More Related Articles
Load More By erz
Load More In เรื่องน่ารู้
Comments are closed.

Check Also

ตัวเราก็มีค่า ในแบบตัวเรา

เมื่อชีวิตต้องพบ กับความผิดหวัง แพ้พ่าย เสี ยใจ การมีใค … …