Home เรื่องน่ารู้ หัวหน้ามือใหม่ อย่ าทำนิสัยแบบนี้

หัวหน้ามือใหม่ อย่ าทำนิสัยแบบนี้

10 second read
ปิดความเห็น บน หัวหน้ามือใหม่ อย่ าทำนิสัยแบบนี้
0
300

1. คาดหวังความเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว

หัวหน้าแต่ละคนมีสไตล์การทำงานไม่เหมือนกัน ถ้าคุณต้องเข้ามาบริหารต่อจากหัวหน้าคนเก่า

หรือบริหารลูกทีมที่ไม่เคยทำงานร่วมกันมาก่อน

 

อย่ าเพิ่งคาดหวังว่าทุ กคนจะทำงานได้ถูกใจตามสไตล์ของคุณแบบปุบปับ ควรให้เวลา

ทั้งสองฝ่ายในการปรับตัวเข้าหากันบ้ าง

 

ต้องการอะไรควรสื่อส า รกันให้ชัดเจน ไม่อย่ างนั้น

ก็มีแต่จะหงุดหงิดใจกันไปทั้งคู่

 

2. ทำทุ กอย่ างด้วยตัวเอง

คุณอาจจะเคยชินกับการเป็นลูกน้องมาก่อน ที่ต้องลงไปคลุกคลีทำงานทุ กอย่ างด้วยตัวเองทุ กเม็ด

แต่เมื่ออัพเลเวลขึ้นมาเป็นหัวหน้าแล้ว ไม่จำเป็นต้องเ สียเวลา

 

ลงมือทำเองไปเสี ยทุ กอย่ างควรวางใจให้ลูกน้องได้ทำแทนบ้ าง แค่เฝ้ามองอยู่ห่าง ๆ

ก็พอ ลูกทีมจะได้มีโอกาสฝึกฝนอย่ างเต็มที่

และคุณเองก็จะได้เอาเวลาไปจัดการงานอย่ างอื่นที่สำคัญกว่า

 

3. วางตัวเป็นเพื่อนมากเกินไป

ต่อจากข้อที่แล้ว การสนิทสนมกับลูกทีมเป็นเรื่องที่ดี แต่ต้องไม่ลืมที่จะรั ก ษ าสถานะความเป็น

“หัวหน้า” เอาไว้ด้วย

 

เพราะในสถานการณ์บางอย่ าง คุณอาจจำเป็นต้องสวมบทบอสที่จริงจัง เด็ดข าด

และใช้อำนาจอย่ างมีประสิทธิภาพ

ฉะนั้นคุณควรจะวางตัวให้เหมาะสม อย่ าให้ลูกทีมหรือคนนอกสับสน

 

4. ใช้เวลากับลูกทีมน้อยเกินไป

การเป็นหัวหน้าที่ดี ไม่ใช่แค่ทิ้งการบ้ านไว้ให้ทีมทำแล้วก็ชิ่งหายไปเท่านั้น แต่คุณ

ต้องเป็นส่วนหนึ่งกับทีมนั้นด้วย

 

ควรใช้เวลากับลูกทีมให้มาก ๆ ศึกษานิสัยใจคอซึ่งกันและกัน สร้างความไว้วางใจ แ ช ร์

ไอเดียกันอย่ างเปิดเผยและคอยอยู่ข้าง ๆ ช่วยพวกเขาแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น

 

5. มองข้ามข้อบกพร่อง

หัวหน้าบางคนอาจจะมองข้ามข้อบกพร่องบางอย่ างในตัวลูกน้องไป เพราะเห็นว่าเป็นเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ

ยังไม่ส่งผลร้ า ยแรงอะไรกับงาน เช่น แอบหลับในที่ทำงาน

 

ติ ดโทรศัพท์มือถือ ชอบโ ก ห ก เป็นต้นก็ถือว่าเป็นการให้อิสระกับลูกน้องบ้ างตามสมควร

แต่ทางที่ดีคุณไม่ควรแกล้งทำปิดหูปิดตาไปเสี ยหมด

 

เพราะข้อเสี ยเล็ก ๆ บางอย่ างก็อาจกลายเป็นเรื่องใหญ่ได้ในอนาคต เปลี่ยนเป็นค่อย ๆ

บอกค่อย ๆ เตื อนกันไปดีกว่า

 

6. ไม่กล้าวิจารณ์ตรง ๆ

ถ้าคุณเห็นว่าคนในทีมทำงานได้ไม่ดี หรือมีตรงไหนที่ควรพัฒนาให้ดีขึ้นได้ ก็ควรบอกกันตรง ๆ

อย่ ามัวเกรงใจว่าจะกลัวลูกน้องจะงอน จะเ ก ลี ย ดขี้หน้า

 

การวิจารณ์ตรง ๆ ไม่ได้หมายความว่าต้องเป็นการดุด่าเสมอไปแต่ควรเป็นการติเพื่อก่อ ปราศจากอคติ

พูดคุยกันด้วยเหตุผลให้มาก ๆและเปิดโอกาสให้อีกฝ่ายได้อธิบายเหตุผลของตัวเองเพื่อหา

ทางออกร่วมกัน

 

ขอบคุณที่มา : jingjai999

Load More Related Articles
Load More By erz
Load More In เรื่องน่ารู้
Comments are closed.

Check Also

ตัวเราก็มีค่า ในแบบตัวเรา

เมื่อชีวิตต้องพบ กับความผิดหวัง แพ้พ่าย เสี ยใจ การมีใค … …