ช่วงที่หัดขับเราหลาย ๆ คน มักจะเจอปัญหาเดียวกันนั่น ก็คือการจอดรถโดยเฉพาะการถอยรถเข้าซอง
ซึ่งเป็นหนึ่งในบททดสอบต อ นสอบใบขับขี่อีกด้วย หากไม่สามารถจอดได้
ก็อาจทำให้ต้องไปสอบซ่อมบ่อย ๆ กว่าจะได้ใบขับขี่มา
สำหรับคนที่ขับรถเป็นหรือขับได้คล่องแล้วอาจจะลืมไปว่าในช่วงที่เราหัดขับใหม่ ๆ การถอยรถเข้าซอง
เป็นเรื่องที่หลาย ๆ คนเป็นกังวลและไม่กล้าถอย เพราะกลัวว่าจะไปเฉี่ยวชนรถคันอื่นเข้า
ในวันนี้เราได้เอาข้อสรุปวิ ธีการจอดรถ แบบถอยเข้าซองมาฝากกัน
ลองนำไปฝึกใช้กันรับรองว่า จะทำเป็นภายในสองวันอย่ างแน่นอน
เทคนิคการถอยรถ เพื่อจอดในซอง
เราเป็นรถคันสีเหลือง และกำลังจะเข้าจอดตรงกลาง ระหว่างรถสีฟ้าและสีแดง
1. เริ่มขับรถขึ้นไปเทียบเท่ากับรถคันสีฟ้าด้านหน้า โดยกะระยะห่างประมาณ ครึ่งเมตร
2. หักพวงมาลัยไปจนสุ ดใส่เกียร์ถอยหลัง แล้วค่อยเคลื่อนรถช้า ๆ
จนกว่า เราสามารถมองเห็นป้ายทะเบียน ของรถคันสีแดงหรือรถด้านหลัง ผ่ า นกระจกมองข้างของเรา
ถ้าหากมองเห็นป้ายทะเบียนของรถคันหลังแล้วนั่น
แปลว่ารถของเรากำลังทำมุม 45 องศ าซึ่งเป็นมุมที่พอดีกับการถอยเข้าซองแล้ว
3. เมื่อรถเราทำมุม 45 องศ าตามภาพแล้ว ให้ค่อยๆถอยรถช้าพร้อมกับค่อยๆปล่อยพวงมาลัยคืน จนกลับมาตรงตามปกติ
ซึ่งจะเป็นจังหวะเดียวกันกับที่เราถอยรถอย่ างช้า ๆ เข้าเทียบที่จอดรถได้พอดี
แนะนำเพิ่มเติม 3 ข้อ
1. กรณีที่เราจะจอดรถเทียบกับขอบฟุตบาทถนน ให้เรายึดเส้นสีขาวเอาไว้โดยให้ล้อหน้าเหยียบเส้นสีขา วก่อนจะหมุนพวงมาลัยกลับ
จากนั้นค่อยเดินหน้าเล็กน้อย สายตามองดูกระจกหลังโดยกะให้ล้อหลังของเราเหยียบเส้นสีขาวพอดี
แล้วจึงคืนพวงมาลัยตรง จากนั้นจึงขยับเดินหน้าถอยหลังอีกครั้งเพื่อให้จอดได้พอดี
2. กรณีของการกลับรถ ให้เราเพิ่มความระมัดระวั งขึ้น โดยให้สังเกตเอาช่วงเวลาที่รถเริ่มน้อยและไม่มีสิ่งกีดขวางในระยะตีวง
เพื่อกลับรถของเรา จากนั้นจึงค่อยๆกลับรถอ ย่ า งช้าๆ อ ย่ าใช้ความเร็วมากจนเกินไป เพื่อความป ล อ ด ภั ยของตัวเราเองและรถคันอื่นๆด้วย
3. ขณะที่ขับรถอยู่บนถนน หากต้องการจะเปลี่ยนเลน ให้เราเปิดไฟเลี้ยวเพื่อขอทางไว้ล่วงหน้า แล้วชะลอความเร็วลง
เพื่อเป็นสัญญาณบอกรถที่วิ่งตามมาว่าเรากำลังจะเปลี่ยนเลน ทั้งนี้ต้องกะระยะห่างจากรถที่ตามหลังมาให้ดี
หากรถคันหลังวิ่งมาด้วยความเร็วสูงก็อาจจะเบรคไม่ทันได้ ซึ่งเป็นอีกหนึ่งสิ่งที่เราต้องฝึกฝนคือการตัดสินในให้เด็ดข าด
อ ย่ า ยึกยักอยู่กลางถนนเพราะจะทำให้รถคันอื่นสับสนและอาจเป็นสาเหตุให้เกิด อุ บั ติ เ ห ตุได้
ขอบคุณที่มา : kiddeepost