1 เก็บแบงก์ 50
วิ ธีนี้ให้เรามุ่ง ความสนใจไปที่แบงก์ 50 เพราะเป็นแบงก์ที่เรามักไม่ค่อย
จะได้เจอสักเท่าไรในชีวิตประจำวันเวลาใช้จ่ายแล้วได้รับเงิ นทอน มาเป็นแบงก์ 50 เมื่อไร
ไม่ว่าจะเป็นแบงก์เก่าหรือใหม่ก็ต าม ให้เก็บไว้เลยทันที ทำแบบนี้ทุ กครั้งที่ได้รับเ งินทอน
สมมติใน 1 สัปดาห์เก็บแบงก์ 50 ได้เฉลี่ย 2 ใบ โดย 1 ปีมี 52 สัปดาห์
เท่ากับว่าปีนี้เราเก็บแบงก์ 50 ได้ทั้งหมด 104 ใบ ก็จะมีเงิ นเก็บ 5,200 บาท
2 ใช้เท่าไร เก็บเท่านั้น
วิ ธีนี้ให้เอารายจ่าย ฟุ่มเฟือยในแต่ละวันเป็นตัวตั้ง เช่น วันนี้ซื้ อเสื้อไป 250 บาท
ก็ให้เก็บ 250 บาทเท่ากับจำนวนเงิ นที่ใช้ไป ยิ่งเราใช้เงิ นฟุ่มเฟือยมาก
ก็ยิ่งต้องเก็บมากถือเป็น การเก็บเงิ นหลังใช้และเป็นวิ ธีที่เหมาะกับคน ที่ค่อนข้างใช้เงิ นเก่ง
เพราะยิ่งเราใช้เยอะ เราก็ต้องมีวินัยในการเก็บเงิ นให้เยอะขึ้นด้วยนั่นเอง
3 เก็บเศษของเงิ นเดือน
วิ ธีนี้ให้เอาเศษของ เงิ นเดือนเป็นตัวตั้ง สำหรับคนที่เงิ นเดือน มีเศษ เช่น 20,580 บาท
ก็ให้เก็บเศษ 580 บาทหากใคร มีเศษน้อยหน่อย เช่น 21,100 บาท ก็อาจจะเก็บ 1,100 บาทเลยก็ได้
ลองปรับดูต ามความเหมาะสมแล้วเก็บแบบนี้ไปทุ กเดือน ๆ
เศษเงิ นเดือนที่ว่าเล็กก็สามารถกล า ยเป็นเ งินก้อนใหญ่ได้ไม่ย าก
4 เก็บเ งินทุ กวันเ งินเดือนออ ก
วิ ธีนี้ให้เอาวันที่เราได้รับเงิ นเดือน เป็นตัวตั้ง พอเงิ นเดือนออ กปุ๊บ ก็ให้เก็บก่อนเลย 20% ของเงิ นเดือน
ถือเป็นการเก็บเงิ นก่อนใช้ สมมติได้เงิ นเดือน 15,000 บาท ก็เก็บ 3,000 บาท
ทำแบบนี้ทุ กเดือน ๆ ถึงสิ้นปี เราจะมีเ งินเก็บ 36,000 บาท
5 เก็บเงิ นต ามวันที่
วิ ธีนี้ ให้เอาวันที่เป็นตัวตั้ง หมายความว่า วันที่ 1 ให้เก็บเงิ น 1 บาท วันที่ 2 เก็บ 2 บาทหยอ ดกระปุกไปเรื่อย ๆ
จนถึงวันที่ 31 เก็บ 31 บาท พอขึ้นเดือนใหม่ ก็เริ่มเก็บ 1 บาทใหม่ต ามวันที่นั้น ๆ ทำแบบนี้ ไปทุ กเดือน ๆ
รวมทั้งปี เราจะมีเงิ นเก็บทั้งหมด 5,738 บาท หรือถ้าใครจะเก็บเ งินวันที่ 1 เป็น 10 บาท วันที่ 31 เป็น 310 บาทก็ได้
รวมทั้งปีเราจะมีเงิ นเก็บถึง 57,380 บาทเอาไปซื้ อท องได้เลยทันทีถึง 2 บาท
ขอบคุณที่มา : tungjai