กลยุทธ์ที่ 1 พูดให้ลูกได้คิด
คุณพ่อคุณแม่ลองพูดข้ อ ดี ข้ อเ สี ยให้ลูกได้ลองคิดไตร่ตรอง รวมทั้งคิดถึงผลที่จะต ามมาจากการกระทำของตนเอง
ว่าที่ทำลงไปนั้น ลูกทำถูก หรือทำผิ ด การปล่อยให้ลูก ได้ลองนั่งคนเดียว หรืออยู่กับตัวเองจะช่วยให้อ ารมณ์ของลูกสงบลงได้ค่ะ
กลยุทธ์ที่ 2 ใช้น้ำเ สี ยงให้ถูกต้อง และถูกเวลา
การคุยกับลูกด้วยเ สี ยงที่ดัง ตะเบงหรือตะโกนกับลูกตลอ ดเวลา เขาจะไม่เข้าใจว่าเราต้องการจะสื่ออะไร
พูดธรรมดา หรือว่ากำลังดุเขา ซึ่งอาจจะส่งผลให้เขาไม่ฟัง หรือไม่ปฏิบัติต ามนะคะ ดังนั้นจึงต้องบอ กให้เขาฟังว่า
น้ำเ สี ยงแบบนี้แปลว่าอะไร แม่กำลังโ ก ร ธอยู่นะ หรือแค่เตื อน ให้เขารับรู้สิ่งที่เราต้องการที่อย ากจะสื่อไปให้
จริง ๆ นั่นเอง ด้วยน้ำเ สี ยงที่ราบเรียบแต่ทรงพ ลั งค่ะสิ่งสำคัญที่ควรหลีกเลี่ยงเลย ก็คือ
หากเราใช้น้ำเ สี ยงที่ดังดุลูกบ่อย ๆ อาจทำให้เขาติ ดพฤติก ร ร มจนกล า ยเป็นนิสัย ที่ไม่ดีจากเราตอนที่โ ม โ หก็ได้ค่ะ
กลยุทธ์ที่ 3 ใช้คำพูดในด้านบวก
คุณพ่อคุณแม่ต้องพย าย ามอย่ าใช้คำพูดว่า ไม่ หรือ ห้าม กับลูก รวมทั้งปรับเปลี่ยนการใช้คำพูดต่าง ๆ
ให้เป็นในด้านบวกมากกว่าค่ะ เช่น ถ้าเราไม่อย ากให้ลูกวิ่ง แทนที่จะบอ กว่าอย่ าวิ่งสิลูก
ให้เปลี่ยนเป็นเดินช้า ๆ สิลูก ลูกจะยอมเชื่อฟัง และปฏิบัติต ามได้ง่ายกว่า
กลยุทธ์ที่ 4 เรียกชื่อลูกอยู่เสมอ ไม่ว่าจะพูดให้ลูกทำอะไร
วิ ธีนี้จะช่วยดึงดูดความสนใจของลูกน้อยก่อน ให้เขาหัน มาสนใจ และตั้งใจฟังในสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่กำลังจะพูด
โดยวิ ธีการพูดนั้น คือให้เรียกชื่อลูกแล้วหยุด เรียกจนกว่า ลูกจะหัน มามองเราอย่ างตั้งใจ
แล้วถึงค่อยอธิบายเหตุผลต่าง ๆ ให้ลูกเข้าใจในเรื่องที่ทำให้ลูกโ ก ร ธ หรือโ ม โ ห
ที่สำคัญต้องคุยกับลูกด้วยเหตุผลเป็นหลักนะคะ เช่น นุ่นลูก นุ่น เงยหน้ามามองแม่ก่อนนะคะ เรามาค่อย ๆ คุยกันนะลูก
กลยุทธ์ที่ 5 อ่อนโยน แต่เ ด็ ดข า ด
คุณพ่อคุณแม่ต้องรู้จักการเลือ กใช้คำพูดให้ลูกรู้สึกยอมฟัง หรือเรียกอีกอย่ างว่า อ่อนโยน แต่เด็ดข า ด ค่ะ
เรียกว่าใช้คำพูดไม่สั่งลูกจนเกินไป แต่ก็ยังคงอ่อนโยน ไม่ทำให้ลูกหวาดกลัว
กลยุทธ์ที่ 6 ต้องพูดให้เข้าใจง่าย สั้นและกระชับใจความ
เพราะเ ด็ กวัยนี้ ยังไม่สามารถฟัง และทำสิ่งต่าง ๆ หล า ย ๆ อย่ างได้ในเวลาเดียวกัน
ลูกจะจับใจความได้เพียงอย่ างเดียวเท่านั้น หากฟังสิ่งที่ย าว ๆ เ ด็ กก็จะงง งอแง
และลืมง่ายนั่นเองดังนั้นเมื่อลูกกำลังโ ม โ หให้พูดกับลูกสั้น ๆ กระชับ ไม่บ่นยืดเยื้อ
บอ กแค่ว่าเขาทำผิ ดอะไร และให้โอกาสเขาได้ลองทบทวนกับตัวเองว่าผิ ดจริงรึเปล่า
จากนั้นค่อย หันหน้าให้ลูกเปิดใจรับฟังปัญหา และจับเข่าคุยกันค่ะ
ขอบคุณที่มา : kiddeemak99