1. ใช้เงิ นเพิ่มขึ้น
ไม่ผิดหรอกถ้าคิดว่า “ อ ย า ก มีชีวิตที่ดีขึ้น” แต่อย่ าลืมว่าชีวิตที่ดีขึ้น
ไม่จำเป็นต้องมากับรายจ่ายที่มากขึ้นเพียงอย่ างเดียว ลองใช้ชีวิตให้ง่ายขึ้น เลิกเป็นนักสะสม หรือสนุกกับการ Mix & Match
เพราะถ้าได้เงิ นเดือนเพิ่ม แล้วใช้จ่ายเพิ่ม (มากกว่าเงิ นเดือนที่เพิ่ม)
สุดท้ายอาจได้แค่ “ อ ย า ก ” มีชีวิตที่ดีขึ้น เพราะพฤติกร รมมือเติบอาจก่อให้เกิดปัญหาตามมา โดยเฉพาะห นี้สินที่พอกพูนโดยไม่ทันตั้งตัว
2. สนใจแต่ “ปัจจุบัน” ไม่สนใจ “อนาคต”
หลายคนสนใจกับความสุขในวันนี้ กินอิ่ม ปาร์ตี้สนุก เที่ยวถี่ ใช้ให้เต็มที่
ที่รู้ว่ายังไม่มีเ งินเก็บสำหรับอนาคต ไม่มีเงิ นสดสำหรับ ย า ม ฉุ ก เ ฉิ น ไม่เคยวางแผนการเ งิน…
คงดีกว่าไม่น้อยถ้าการตัดสินใจใช้เงิ นทุ กครั้ง เราได้ฉุกคิดถึง “อนาคต” บ้าง…บ้าน ผ่ อ น ห ม ด ยั ง?
ห นี้บัตรเครดิตจ่ายเต็มวงเงิ นแล้วใช่มั้ย? เงิ นก้อนที่ตั้งใจเก็บตอนนี้ได้เท่าไหร่?
เกษียณที่ว่าต้องใช้เงิ นเยอะเรามีแค่ไหนแล้ว? อ ย า ก รว ยต้องหัดอดเปรี้ยวไว้กินหวาน
3. คิดว่า “เร็วเกินไปที่จะออมเ งิน”
ในวันที่เรายังตื่นตาตื่นใจกับสิ่งรอบตัว อันนู้นก็ใช่ อันนี้ก็ อ ย า ก ได้ ภาพลวงของ “ความจำเป็น” ผุดขึ้นมาตรงหน้า และทำให้เราเ สียเ งินอยู่เสมอ
ทั้งที่สิ่งเหล่านั้นอาจเป็นแค่ “ความต้องการ” มีก็ดี ไม่มีก็ได้…เลิกผัดวันประกันพรุ่ง และเริ่มออมเงิ นวันนี้ และเดี๋ยวนี้
หลังจากนั้นสร้างวินัยให้กับตนเองด้วยการออมต่อเนื่องสม่ำเสมอ แม้จะไม่ อ ย า ก ออมก็ตาม
4. ไม่เคยจดเรื่อง “เงิ น” ของตัวเอง
เข้าห้องประชุมก็จด นายสั่งงานก็จด ไปฟังสัมนาก็จด จดทุ กเรื่องที่ทำเพื่อคนอื่น…
แต่หลายคนไม่เคยแม้แต่จะจดเรื่อง “เ งิน” ของตัวเอง เพียงเพราะคิดว่าเรารู้อยู่แล้วว่า รับ จ่าย ออม เท่าไหร่
แต่ความจริงแล้วเราอาจละเลย “รูรั่ว” เล็ก ๆ แต่สร้างผลกระทบยิ่งใหญ่ต่อสถานะการเงิ นโดยที่เราไม่รู้ตัว…
เริ่มต้นง่าย ๆ แค่จดรายจ่าย “ทุ กวัน” ต่อเนื่อง 2-3 เดือน เพื่อให้เห็นว่าอะไรที่ “เกินจำเป็น”
จากนั้น ปรับพฤติกร รมการใช้จ่าย และนำส่วนที่เหลือไปออมและ ล ง ทุ น แค่นี้ก็เข้าจุดหมายที่เรียกว่า “ความร วย” แล้ว
ขอบคุณที่มา : sabailey