1. รู้จักสิทธิของคนอื่น
ไม่ลักข โมยของใคร ไม่ใช้กำลัง คำพูด อุบาย และอำนาจ ทำร้ ายใครต่อใครไปทั่ว
ไม่ผิดลูกผิดเมียใคร มีใจสงเคร าะห์คนในครอบครัว ผู้อื่น สังคม เพื่อนฝูง และโลก ตามกำลังของตนเองอยู่เสมอ
2. การพูดจามีธรรม
คือไม่พูดสอดเ สียด ไม่พูดความเท็จ ไม่พูดจาทำล ายน้ำใจคนอื่นเขา ไม่พูดความจริงอย่ างไ ร้ประโยชน์ พูดจาสุภาพ มีประโยชน์ เหมาะกับก าลเทศะ
3. รู้ตัว ทั่วพร้อม
รู้ว่าควรกำหนดสติ ขณะนี้กำลังทำอะไร พูดกับใคร แล้วสิ่งเหล่านี้จะมีผลอะไรต่อชีวิต
กำลังเดินให้รู้ว่าเดิน กำลังนั่งให้รู้ว่านั่ง กำลังทำสิ่งใดให้รู้สึกตัวอยู่เนื่อง ๆ ลมหายใจออกรู้ ลมหายใจเข้ารู้
เห็นความคิด เห็นความรู้สึก เห็นการเกิดดับของความคิด ความรู้สึก สามารถดำเนินชีวิตโดยใช้สติปัญญาเป็นเข็มทิศนำทาง
4. ประกอบอาชีพ ด้วยความเพียรและความดี
คือไม่ประกอบอาชีพเบียดเบียน เอาเปรียบใคร ทั้งทางตรงหรือทางอ้อม ไม่ประกอบอาชีพที่มอมเม าผู้อื่น
ไม่ประกอบอาชีพที่ถูกกฎหม ายแต่ผิดศีลธรรม ให้ประกอบการงานด้วยความสุจริตอย่ างเต็มกำลังความสามารถ
ประกอบการงานด้วยหลักอิทธิบาทสี่ มีใจรักในงาน ทุ่มเทในงาน มีสมาธิจดจ่อในงาน ตรวจสอบ ปรับปรุง พัฒนา
5. รู้จักกำจัดความมืดดำในใจ
รู้วิ ธีจัดการกิเลสตัณหาของตน ไม่ต กอยู่ใต้อำน าจวัตถุเ งินท อง ละลดความสุขทางก า ม เพิ่มพูนความสุขทางใจ
คือสุขจากสิ่งดีงาม สุขจากการวางตนอยู่เหนือสถานการณ์ ละความอิจ ฉา
สุขจากสมาธิ รู้จักเมตตา ช่วยเหลือ ยินดี แบ่งปั น และปล่อยวางได้
6. เข้าใจชีวิตตามความเป็นจริง
เห็นว่า ชีวิตคือของชั่ วคร าว สิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิต คือผลอันเกิดจากการกระทำของเราทั้งอดีตและปัจจุบัน
การเวียนว่ายมีจริง การพ้นไปจากการเวียนว่ายมีจริง รู้จักเห็นโ ท ษ ของความสุข เห็น โ ท ษ ของความทุ กข์
เห็นโ ท ษของการเ สียไป รู้จักกระบวนการทำงานของจิตใจและความคิด เห็นหนทางแก้ไขความทุ กข์อย่ างถูกต้อง
และเดินตามแนวทางที่ถูกต้อง และต้องมีวิ ธีศึกษา และปฏิบัติอย่ างถูกต้องด้วยนะ
7. จัดสรรชีวิตให้เหมาะสมกับการพัฒนาจิตใจ
รู้ว่า ควรจัดสรรชีวิตให้มีความสัปปายะ คือมีความสงบเย็น เรียบง่าย ไม่ว้าวุ่นใจ คบเพื่อนสงบเย็น คุยในเรื่องสงบ
อยู่ในสถานที่สงบ ดำเนินชีวิตอยู่ในธรรม ไม่ดำเนินชีวิตอยู่ในตัณหา
อันเป็นต้นกำเนิดของความเดื อ ดร้อน และ โ ง่ เ ข ล า เบาปัญญา
ขอบคุณที่มา : แ ส น ส บ า ย