เรียนอนุบาล 3 ปี ถ้าเรียนโรงเรียนดี ๆ หน่อย พ่อแม่ก็ต้องจ่ายค่าเทอมแพง ๆ ให้ คาดว่าเทอมนึงก็หลายหมื่นอยู่ บางโรงเรียนก็เป็นแสน
ปีเรียนประถม 6 ปี เรียนมัธยม 6 ปี อยู่ในวัยแห่งการค้นหาตนเอง ว่าอย ากเป็นอะไร อย ากทำงานอะไร เรียนมหาวิทย าลัย 4 ปี
อยู่ในวัยแห่งการวางแผนอนาคต จบให้ได้ภายใน 4 ปี ไม่เช่นนั้นจะใช้เงิ นพ่อแม่ต่อไปอีก ค่าเทอมที่ต้องจ่ายทุ กเทอม บางคนเรียนไม่จบสักที
ก็ใช้เงิ นไปเรื่อย ๆ บางคนหาเงิ นมาเรียนเอง แต่ก็ต้องใช้เ งินอยู่ดี 19 ปี เรียนมาเกือบ ต า ย เคยถามตัวเองสักทีไหมว่า
หมดเงิ นไปไม่รู้เท่าไร จบมาเป็นขี้ข้ าห้องแอร์เงิ นเดือน 15,000 เจ้านายบางแห่งก็หน้าหม้อ เพื่อนร่วมงานก็ขี้อิ จฉา ตาร้อน แข่งกันดี แข่งกันเด่น
ใครดี ใครได้ วุ่นวายไปหมด แต่เราก็ยังไม่ชิน ที่แข่งกันแบบนี้ ก็ตั้งแต่สมัยเรียนมัธยมแล้ว แข่งกันเรียนเก่ง พ่อแม่ก็ปลูกฝังมาแบบนี้จนติ ดเป็นนิสัย แก้ย าก
ไหนจะลูกค้างี่เง่า (ไม่รู้คิดไปเองหรือเปล่านะ แต่ก็เห็นบ่นกันมาเยอะ ว่าลูกค้างี่เง่า หรือเราทำงานให้เขาไม่ได้ อันนี้ก็อีกเรื่อง) ทนๆ ๆ ๆ ๆ ทนไปเรื่อย ๆ
ทนมา 3 ปี กะจะหาที่ทำงานใหม่ เผื่อจะได้ไปเจองานที่ดีกว่า เพื่อนร่วมงานที่ดีกว่า เงิ นเดือนอาจจะดีกว่าก็ได้ เพราะที่เก่าอยู่ไม่ได้ อยู่ไม่ไหวแล้ว
อยู่ไปก็คงไม่มีอะไรดีขึ้น พอได้งานใหม่ อ้าว ชิ บหาย เหมือนเดิมเป๊ะเลย ที่ใหม่ก็ไม่ต่างจากที่เก่า เราแค่เปลี่ยนที่ทุ กข์ เปลี่ยนที่ท รมาน
เพราะการเปลี่ยนงาน ไม่ได้หมายถึงเราจะทำงานได้ ทุ กอย่ างมันเปลี่ยนหมด ยกเว้นตัวเอง ตื่นมาแทนที่จะได้กินกาแฟอ่ านหนังสือที่ชอบก่อน
ต้องรีบร้อนวิ่งไปหาเครื่องตอกบัตร ไปนั่งรถ รถติ ดอยู่บนถนน บางที 1 ชั่ วโมง 2 ชั่ วโมง ต้องทนไปแบบนี้ทุ กวัน เจอคนเยอะ ๆ แออัด บางทีก็ไม่ได้นั่ง
ยืนตลอดทางก็เคยมาแล้ว พอถึงตอนพักเที่ยง อย ากกินอาหารร้านโปรดก็ไกล ร้านใกล้ ๆ ก็ไม่ถูกปาก ทำได้แค่กินข้าวแกงข้างออฟฟิศ
เพราะกลัวกลับเข้างานไม่ทันเวลา อย ากออกจากงาน วันละ 3 เวลา หลังอาหารก็ทำไม่ได้เพราะ ซื้อรถไปแล้ว ทนนั่งรถเมล์ไม่ไหว ต้องผ่อนรถ
ไหนจะค่าบัตรเครดิตอีก 2-3 ใบ ลาออกไป มีหวังกลับไปนั่งรถเมลล์เหมือนเดิม สักพักก็ซื้อบ้าน ยิ่งลาออกไม่ได้แล้ว เหมือนผูกมัดตัวเองเอาไว้ที่เดิม
ชีวิตค่อย ๆ เดินลงทะเล ทีละก้าว ผ่ านไป 10 ปี มีลูกยิ่งต้องระวั ง ต กงานมาไม่ใช่เราคนเดียวที่อด ต า ย ไปทำงานด้วยความจำยอม
เจ้านายจะโขกสับยังไงก็ต้องทน แต่ก็แปลกอีกนะ เราเจอแบบนี้มา เราก็ดันไป สอนลูกเราต่ออีกว่า “ตั้งใจเรียนนะโตขึ้นจะได้ทำงานดี ๆ ”
สุดท้ายพอเรา ต า ย ไป เราไม่ได้ทิ้งอะไรใว้ให้ลูกเลย แต่เราทิ้งลูกจ้างใว้ให้โลกไว้ทำงาน ให้บริษัทคนอื่น ให้คนอื่นร วย นั้นคือ ลูกเรา นั้นเอง
คิดง่าย ๆ นะ อาเฮียร้านจักรย าน ต า ย ไป เขาทิ้งกิจการร้านจักรย านใว้ให้ลูก ลูกรุ่นต่อไปเป็นเถ้าแ ก่
ลุงดำ ทำงาน ร้านจักรย านของอาเฮีย ลุงดำ ต า ย ห่าไป ลุงดำจะมีอะไรทิ้งใว้ให้ลูก
คนจะร วยคนจะจน มันไม่ได้ต่างกันที่จำนวนเงิ น มันต่างกันที่วิ ธีคิด คุณอย ากเห็นตัวเองตอนอายุ 60 เป็นยังไง มันขึ้นอยู่กับการคิดการทำในวันนี้
เลิกทำให้คนอื่นร วย มาทำให้ตัวเองร วย แล้วก็อย่ ามาโชว์โ ง่ ด้วยการบอกว่า ค้าขายไม่เป็น ทำธุรกิจไม่เป็น
ออกมาจากท้องแม่ คุณก็ เดิน พูด ไม่เป็นเช่นกัน แต่วันนี้คุณเดิน พูดได้สบาย ๆ เรียนรู้ ศึกษา สิครับ
เริ่มจากสิ่งที่ตัวเองชอบอย ากทำ ทำแล้วมีความสุข แรก ๆ อาจจะเจ๊ง เจ๊งก็ช่างมันยิ่งเจ๊งยิ่งเก่ง
เหมือนหัดขี่จักรย านนั้นแหละ ต้องมีล้ มบ้าง เลือกเอา จะล้ มตอนนี้ตอนที่ยังมีแรงลุกได้เร็ว หรือล้ มตอน อายุ 60 ล้ ม
อายุปูนนั้น ล้ มมานี่ ต า ย เลยนะ ถ้ามัวแต่ รอ รอ รอ นึกถึงไหมว่าเมื่อตอนเด็ ก อย ากเรียนจบ อย ากทำงานไวไว อย ากทำงานเพื่อสังคม
ตอนเรียนจบใหม่ ๆ ได้ทำงานที่คนอื่นใฝ่ฝัน เ งินดี สวัสดีการเยี่ยม ทำงานเพื่อเงิ น และหน้าตา หลังลาออก มาค้นหาตัวเอง ตามหาความฝัน ค้นพบว่า
คนเราควรทำงานเพื่องาน ทำงานเพื่อทำหน้าที่ของตัวเองให้ครบถ้วน (หน้าที่ของลูก น้อง เจ้านาย ฯลฯ) ทำงานเพื่อพัฒนาตัวเองในฐานะมนุษย์ให้ดีขึ้น
วิชาชีพ วุฒิภาวะ soft skills ทำงานเพื่อความมั่นคงทางใจ การยอมรับนับถือตัวเอง คุณค่าต่อตัวเอง และสังคม ทำงานเพื่อ passion ส่วนตัว
และตรงตามไลฟ์สไตล์ที่ตัวเองชอบ ที่พูดนี่ไม่ได้บอกว่างานที่ทำมันไม่ดี แค่อย ากให้พัฒนาตัวเองในหลาย ๆ ด้านด้วย เผื่อเจ้านายจะใจดีขึ้นเงิ นเดือนให้
จะได้คุ้มกับค่าเหนื่อยที่พ่อแม่ส่งเสี ยมาตั้ง 19 ปี เผื่อวันหนึ่่งค้นพบตัวเอง กลายเป็นเจ้าของธุรกิจ เผื่อจะร วยกว่าที่เป็นอยู่ในทุ กวันนี้
สุดท้าย ถ้างานที่เราทำ ทำให้คนอื่นมีความสุข และสามารถช่วยสังคมได้ด้วย สำหรับเรา ถือเป็นโ ชคสองชั้น